โครเมียม (เว็บเบราว์เซอร์)

โครเมียม (อังกฤษ: Chromium) เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สฟรีที่พัฒนาโดย โครงการโครเมียม ที่สนับสนุนโดยกูเกิล ซอร์สโค้ดของเบราว์เซอร์นี้สามารถคอมไพล์เป็นเว็บเบราว์เซอร์ได้ โดยมีการเผยแพร่โค้ดเวอร์ชันใหม่ทุกวัน[15]

โครมเมียม
ผู้ออกแบบกูเกิล[1]
นักพัฒนากูเกิล, ไมโครซอฟท์, อินเทล, Igalia, ยานเดกซ์, ซัมซุง, แอลจี อิเล็คทรอนิกส์, ARM, โอเปร่า, เนเวอร์, บริษัท อื่น ๆ และผู้ร่วมให้ข้อมูลอิสระ[2][3]
วันที่เปิดตัว2 กันยายน 2008; 15 ปีก่อน (2008-09-02)[1]
ที่เก็บข้อมูล
ภาษาที่เขียนC, C++, JavaScript,[4][5] TypeScript,[6] Python[7]
เอนจินsBlink, V8
ระบบปฏิบัติการ
แพลตฟอร์มIA-32, x86-64, ARM
ประเภทWeb browser
สัญญาอนุญาต
เว็บไซต์www.chromium.org/Home

กูเกิลใช้รหัสเพื่อสร้างเบราว์เซอร์โครมซึ่งมีคุณลักษณะมากกว่าโครเมียม นอกจากนั้นเบราว์เซอร์อื่น ๆ จำนวนมากยังใช้โค้ดจากโครเมียมอีกด้วย ที่โดดเด่น เช่น ไมโครซอฟท์ เอดจ์ และโอเปร่า

ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ของโครเมียมนั้นเรียบง่าย กูเกิลพยายามที่จะทำให้เบราว์เซอร์ "รู้สึกเบา (ทั้งทางความคิดและตัวแบราว์เซอร์) และรวดเร็ว"[16]

ความแตกต่างจากกูเกิล โครม แก้

โครเมียมเป็นซอร์สโค้ดส่วนใหญ่ให้กับกูเกิล โครม ซึ่งรวมถึงอินเทอร์เฟซผู้ใช้ เครื่องมือแสดงผล Blink และเอนจินจาวาสคริปต์ V8 กูเกิลเลือกชื่อ "Chromium" จากการใช้โลหะโครเมียมในการชุบโครเมียม[17][1]

คุณลักษณะ แก้

คุณลักษณะของโครมเหล่านี้ไม่มีอยู่ในโครเมียม:[18]

  • การอัปเดตเบราว์เซอร์อัตโนมัติ
  • คีย์ API สำหรับบริการบางอย่างของกูเกิล ซึ่งรวมถึงการซิงโครไนซ์เบราว์เซอร์[19]
  • โมดูล Widevine DRM
  • มีโคเดกที่ได้รับอนุญาตแล้วของรูปแบบเสียง AAC และวิดีโอ H.264 ที่ได้รับความนิยม
  • ระบบการติดตามสำหรับการใช้งานและรายงานข้อขัดข้อง

การสร้างแบรนด์และการออกใบอนุญาต แก้

แม้ว่าโครมจะมีฟังก์ชัน อินเทอร์เฟซผู้ใช้เหมือนกับโครเมียม แต่จะเปลี่ยนโทนสีเป็นแบบเดียวกันกับบริการต่าง ๆ ของกูเกิล กูเกิล โครมแตกต่างจากโครมเมียมตรงที่โคมไม่โอเพ่นซอร์ส ดังนั้นไบนารีจึงได้รับอนุญาตให้เป็นฟรีแวร์ภายใต้ข้อกำหนดในการให้บริการของกูเกิล โครม[20]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 Google (September 2008). "Welcome to Chromium". {{cite web}}: |last= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  2. "Chromium Blog: Intent to Explain: Demystifying the Blink Shipping Process". สืบค้นเมื่อ 7 May 2020.
  3. "Google gets web allies by letting outsiders help build Chrome's foundation". สืบค้นเมื่อ 23 November 2020.
  4. "Chromium (Google Chrome)". Ohloh.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-28. สืบค้นเมื่อ 8 February 2012.
  5. "Chromium coding style". Google Open Source. Google Source. สืบค้นเมื่อ 29 March 2017.
  6. van der Lippe, Tim (2021-04-08). "DevTools architecture refresh: migrating DevTools to TypeScript".
  7. "Chromium Python Style Guide". สืบค้นเมื่อ 2021-04-10.
  8. "Chromium Browser on FreeBSD". สืบค้นเมื่อ 28 March 2020.
  9. "Fuchsia OS running a rudimentary Chromium build [Video] - 9to5Google". สืบค้นเมื่อ 15 November 2020.
  10. "Open-sourcing Chrome on iOS!". 2017. สืบค้นเมื่อ 28 March 2020.
  11. "Download Chromium". The Chromium Project. สืบค้นเมื่อ 17 August 2019.
  12. "OpenBSD Ports". Sweden. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-29. สืบค้นเมื่อ 28 March 2020.
  13. "Updates to Chrome platform support". Google Blog. 2015. สืบค้นเมื่อ 31 March 2017.
  14. "28291 - Pass the Ubuntu license check script". bugs.chromium.org. 19 November 2009.
  15. "Download Chromium". The Chromium Project.
  16. "User Experience (Chromium Developer Documentation)". Chromium Developer Documentation. dev.chromium.org. 2009. สืบค้นเมื่อ 5 July 2009.
  17. Murphy, Glen (2012-12-18). "Why is Google Chrome browser named as Chrome?". สืบค้นเมื่อ July 6, 2020.
  18. "Notes for building Chromium". Woolyss. สืบค้นเมื่อ 3 April 2021.
  19. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ sync2021
  20. "Google Chrome Terms of Service". www.google.com. สืบค้นเมื่อ 26 September 2017.