การแข่งขันฟุตบอล โกปาอาเมริกา เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับชาติรายการหลักสำหรับทีมชาติในทวีปอเมริกาใต้ ปัจจุบันได้จัดการแข่งขันที่ประเทศชิลีระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน ถึง 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2558[1] นับเป็นครั้งที่ 44 ตั้งแต่มีการจัดขึ้น

โกปาอาเมริกา 2015
โกปาอาเมริกา ชิลี 2015
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพชิลี
วันที่11 มิถุนายน – 4 กรกฎาคม 2558
ทีม12 (จาก 2 สมาพันธ์)
สถานที่9 (ใน 8 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติชิลี ชิลี (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
อันดับที่ 3ธงชาติเปรู เปรู
อันดับที่ 4ธงชาติปารากวัย ปารากวัย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน26
จำนวนประตู59 (2.27 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม655,902 (25,227 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดเปรู ปาโอโล เกร์เรโร
ชิลี เอดัวร์โด บาร์กัส
(4 ประตู เท่ากัน)
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมชิลี เกลาดีโอ บราโบ
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมโคลอมเบีย เยย์ซอน มูรีโย
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติเปรู เปรู
2011
2016

อุรุกวัยเป็นทีมแชมป์เก่า แต่ตกรอบโดยเจ้าภาพในรอบก่อนรองชนะเลิศ มี 12 ทีมเข้าร่วมการแข่งขัน ประกอบด้วยชาติสมาชิกของคอนเมบอล 10 ชาติ และชาติรับเชิญจากคอนคาแคฟอีก 2 ชาติ คือ เม็กซิโกและจาเมกา ซึ่งชาติหลังนี้เพิ่งเข้าร่วมการแข่งขันโกปาอาเมริกาเป็นครั้งแรก ผู้ชนะการแข่งขันนี้จะได้สิทธิ์เข้าไปแข่งขันฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2017 ที่ประเทศรัสเซีย

สนามแข่งขัน แก้

การแข่งขันนี้จะใช้สนาม 9 สนามซึ่งตั้งอยู่ใน 8 เมือง สนามส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่างการบูรณะหรือสร้างขึ้นมาใหม่

อันโตฟากัสตา ลาเซเรนา
สนามกีฬาแคว้นอันโตฟากัสตา สนามกีฬาลาปอร์ตาดา
ความจุ : 21,178 คน[2] ความจุ : 17,194 คน[3]
 
บีญาเดลมาร์ บัลปาราอีโซ
สนามกีฬาเซาซาลีโต สนามกีฬาเอลีอัส ฟีเกโรอา
ความจุ : 22,340 คน[4] ความจุ : 23,000 คน[5]
 
(สนามเก่า)
 
ซานเตียโก รังกากวา
สนามกีฬาแห่งชาติ สนามกีฬาอนุสรณ์ดาบิด อาเรยาโน สนามกีฬาเอลเตเนียนเต
ความจุ : 48,745[6] ความจุ : 47,347[6] ความจุ : 15,600 คน[7]
     
กอนเซปซีออน เตมูโก
สนามกีฬาเทศบาลกอนเซปซีออน สนามกีฬาเทศบาลเคร์มัน เบเกร์
ความจุ : 35,000 คน[8] ความจุ : 18,936 คน[9]
   

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

รายการการแข่งขันได้ประกาศออกมาเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557[10]

กลุ่มเอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม
1   ชิลี (H) 3 2 1 0 10 3 +7 7 รอบแพ้คัดออก
2   โบลิเวีย 3 1 1 1 3 7 −4 4
3   เอกวาดอร์ 3 1 0 2 4 6 −2 3
4   เม็กซิโก 3 0 2 1 4 5 −1 2
แหล่งที่มา : CONMEBOL
กฎการจัดอันดับ : กฎไทเบรก
(H) เจ้าภาพ.
11 มิถุนายน 2558
ชิลี   2–0   เอกวาดอร์ สนามกีฬาแห่งชาติ, ซานเตียโก
12 มิถุนายน 2558
เม็กซิโก   0–0   โบลิเวีย สนามกีฬาเซาซาลีโต, บีญาเดลมาร์
15 มิถุนายน 2558
เอกวาดอร์   2–3   โบลิเวีย สนามกีฬาเอลีอัส ฟีเกโรอา, บัลปาราอีโซ
ชิลี   3–3   เม็กซิโก สนามกีฬาแห่งชาติ, ซานเตียโก
19 มิถุนายน 2558
เม็กซิโก   1–2   เอกวาดอร์ สนามกีฬาเอลเตเนียนเต, รังกากวา
ชิลี   5–0   โบลิเวีย สนามกีฬาแห่งชาติ, ซานเตียโก

กลุ่มบี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม
1   อาร์เจนตินา 3 2 1 0 4 2 +2 7 รอบแพ้คัดออก
2   ปารากวัย 3 1 2 0 4 3 +1 5
3   อุรุกวัย 3 1 1 1 2 2 0 4
4   จาเมกา 3 0 0 3 0 3 −3 0
แหล่งที่มา : CONMEBOL
กฎการจัดอันดับ : กฎไทเบรก
13 มิถุนายน 2558
อุรุกวัย   1–0   จาเมกา สนามกีฬาแคว้นอันโตฟากัสตา, อันโตฟากัสตา
อาร์เจนตินา   2–2   ปารากวัย สนามกีฬาลาปอร์ตาดา, ลาเซเรนา
16 มิถุนายน 2558
ปารากวัย   1–0   จาเมกา สนามกีฬาแคว้นอันโตฟากัสตา, อันโตฟากัสตา
อาร์เจนตินา   1–0   อุรุกวัย สนามกีฬาลาปอร์ตาดา, ลาเซเรนา
20 มิถุนายน 2558
อุรุกวัย   1–1   ปารากวัย สนามกีฬาลาปอร์ตาดา, ลาเซเรนา
อาร์เจนตินา   1–0   จาเมกา สนามกีฬาเซาซาลีโต, บีญาเดลมาร์

กลุ่มซี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม
1   บราซิล 3 2 0 1 4 3 +1 6 รอบแพ้คัดออก
2   เปรู 3 1 1 1 2 2 0 4
3   โคลอมเบีย 3 1 1 1 1 1 0 4
4   เวเนซุเอลา 3 1 0 2 2 3 −1 3
แหล่งที่มา : CONMEBOL
กฎการจัดอันดับ : กฎไทเบรก
14 มิถุนายน 2558
โคลอมเบีย   0–1   เวเนซุเอลา สนามกีฬาเอลเตเนียนเต, รังกากวา
บราซิล   2–1   เปรู สนามกีฬาเทศบาลเคร์มัน เบเกร์, เตมูโก
17 มิถุนายน 2558
บราซิล   0–1   โคลอมเบีย สนามกีฬาอนุสรณ์ดาบิด อาเรยาโน, ซานเตียโก
18 มิถุนายน 2558
เปรู   1–0   เวเนซุเอลา สนามกีฬาเอลีอัส ฟีเกโรอา, บัลปาราอีโซ
21 มิถุนายน 2558
โคลอมเบีย   0–0   เปรู สนามกีฬาเทศบาลเคร์มัน เบเกร์, เตมูโก
บราซิล   2–1   เวเนซุเอลา สนามกีฬาอนุสรณ์ดาบิด อาเรยาโน, ซานเตียโก

ตารางคะแนนของทีมอันดับที่ 3 แก้

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 บี   อุรุกวัย 3 1 1 1 2 2 0 4 รอบแพ้คัดออก
2 ซี   โคลอมเบีย 3 1 1 1 1 1 0 4
3 เอ   เอกวาดอร์ 3 1 0 2 4 6 −2 3
แหล่งที่มา : CONMEBOL
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนนจากนัดทุกกลุ่ม; 2) ผลต่างประตูทั้งหมด; 3) ประตูที่ทำได้ทั้งหมด; 4) จับสลากขึ้นมาใหม่โดยคอนเมบอล[11]

รอบแพ้คัดออก แก้

รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
24 มิถุนายน – ซานเตียโก        
   ชิลี  1
29 มิถุนายน –

ซานเตียโก

   อุรุกวัย  0  
   ชิลี  2
25 มิถุนายน – เตมูโก
       เปรู  1  
   โบลิเวีย  1
4 กรกฎาคม – ซานเตียโก
   เปรู  3  
   ชิลี (ลูกโทษ)  0 (4)
26 มิถุนายน – บีญาเดลมาร์    
     อาร์เจนตินา  0 (1)
   อาร์เจนตินา (ลูกโทษ)  0 (5)
30 มิถุนายน – กอนเซปซีออน
   โคลอมเบีย  0 (4)  
   อาร์เจนตินา  6 อันดับที่สาม
27 มิถุนายน – กอนเซปซีออน
       ปารากวัย  1   3 กรกฎาคม – กอนเซปซีออน
   บราซิล  1 (3)
   เปรู  2
   ปารากวัย (ลูกโทษ)  1 (4)  
   ปารากวัย  0
 


รอบก่อนรองชนะเลิศ แก้

ชิลี  1–0  อุรุกวัย
เมารีซีโอ อิสลา   81' รายงาน



รอบรองชนะเลิศ แก้

ชิลี  2–1  เปรู
เอดัวร์โด บาร์กัส   41'63' รายงาน การี เมเดล   60' (เข้าประตูตัวเอง)

นัดชิงอันดับที่ 3 แก้

รอบชิงชนะเลิศ แก้

อันดับดาวซัลโว แก้

4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
การทำเข้าประตูตัวเอง

แหล่งที่มา : CONMEBOL.com[13]

สถิติ แก้

รางวัล แก้

ทีมยอดเยี่ยมประจำทัวร์นาเมนต์ แก้

[14]

ผู้รักษาประตู กองหลัง กองกลาง กองหน้า ผู้จัดการทีม

  เกลาดีโอ บราโบ (ชิลี)

  เยย์ซอน มูรีโย (โคลอมเบีย)
  การี เมเดล (ชิลี)
  นีโกลัส โอตาเมนดี (อาร์เจนตินา)

  คริสเตียน คูเอบา (เปรู)
  มาร์เซโล ดีอาซ (ชิลี)
  คาเบียร์ มาเชราโน (อาร์เจนตินา)
  อาร์ตูโร บีดัล (ชิลี)

  เอดวร์โด บาร์กัส (ชิลี)
  ปาโอโล เกร์เรโร (เปรู)
  เลียวเนล เมสซี (อาร์เจนตินา)

  คอร์เก ซัมปาโอลี (ชิลี)

ตารางการจัดอันดับหลังจบการแข่งขัน แก้

Per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-out are counted as draws.

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ผลงานในรอบสุดท้าย
1   ชิลี (H) 6 4 2 0 13 4 +9 14 ชนะเลิศ
2   อาร์เจนตินา 6 3 3 0 10 3 +7 12 รองชนะเลิศ
3   เปรู 6 3 1 2 8 5 +3 10 อันดับที่สาม
4   ปารากวัย 6 1 3 2 6 12 −6 6 อันดับที่สี่
5   บราซิล 4 2 1 1 5 4 +1 7 ตกรอบใน
รอบก่อนรองชนะเลิศ
6   โคลอมเบีย 4 1 2 1 1 1 0 5
7   อุรุกวัย 4 1 1 2 2 3 −1 4
8   โบลิเวีย 4 1 1 2 4 10 −6 4
9   เวเนซุเอลา 3 1 0 2 2 3 −1 3 ตกรอบใน
รอบแบ่งกลุ่ม
10   เอกวาดอร์ 3 1 0 2 4 6 −2 3
11   เม็กซิโก 3 0 2 1 4 5 −1 2
12   จาเมกา 3 0 0 3 0 3 −3 0
แหล่งที่มา : CONMEBOL[ต้องการอ้างอิง]
(H) เจ้าภาพ.

อ้างอิง แก้

  1. "The Copa América Chile-2015 will be held from June 11 to July 4". CONMEBOL.com. 12 กุมภาพันธ์ 2557.
  2. http://www.ca2015.com/es/venue/antofagasta-la-riqueza-minera-y-el-extraordinario-desierto/16aspmm6a58bt1bm0zku6t5xvp
  3. http://www.ca2015.com/es/venue/la-serena-la-belleza-historica-de-una-ciudad-privilegiada/x2tictxhqsa713bp3sa1t0u9b
  4. http://www.ca2015.com/es/venue/vina-del-mar/1gum7ct8scawy1q0ni6zb2ob51
  5. http://www.ca2015.com/es/venue/valparaiso-la-joya-del-pacifico-que-se-volvio-patrimonio-de-la-humanidad/1qm7l4165msf21nnz2upgjvu5h
  6. 6.0 6.1 http://www.ca2015.com/es/venue/santiago-el-atractivo-de-la-gran-capital/slsaopqfgwo216xizi74oevqx
  7. http://www.ca2015.com/es/venue/rancagua-las-tradiciones-del-campo-chileno/1jz0igcvnx8cg12fgp0bfh8tqu
  8. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-26. สืบค้นเมื่อ 2015-06-27.
  9. http://www.ca2015.com/es/venue/temuco-lo-imponente-de-los-paisajes-naturales/1aryy71rk2tlqzz95zqtucllc
  10. "Copa América fixture list announced for Chile 2015". Ca2015.com.com. 2014-11-11. สืบค้นเมื่อ 2014-11-16.
  11. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ regulations
  12. "Vargas' double fires tournament hosts Chile into Copa América final". Copa América Chile 2015. 29 June 2015.
  13. "Copa America Chile 2015 — Goleadores". CONMEBOL.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2015-06-27.
  14. "Copa América 2015 - Team of the tournament". สืบค้นเมื่อ 5 July 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้