เสริม วินิจฉัยกุล

เสริม วินิจฉัยกุล เป็นอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย[1] อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตปลัดกระทรวงการคลัง

เสริม วินิจฉัยกุล
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ดำรงตำแหน่ง
26 กันยายน พ.ศ. 2500 – 26 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายกรัฐมนตรีพจน์ สารสิน
ก่อนหน้าพจน์ สารสิน
ถัดไปเสริม วินิจฉัยกุล
ดำรงตำแหน่ง
1 มกราคม พ.ศ. 2501 – 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
นายกรัฐมนตรีถนอม กิตติขจร
ก่อนหน้าเสริม วินิจฉัยกุล
ถัดไปโชติ คุณะเกษม
ดำรงตำแหน่ง
8 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 – 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
นายกรัฐมนตรีถนอม กิตติขจร
ก่อนหน้าสุนทร หงส์ลดารมภ์
ถัดไปบุญมา วงศ์สวรรค์
ดำรงตำแหน่ง
19 ธันวาคม พ.ศ. 2515 – 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
นายกรัฐมนตรีถนอม กิตติขจร
ก่อนหน้าบุญมา วงศ์สวรรค์
ถัดไปบุญมา วงศ์สวรรค์
ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
ดำรงตำแหน่ง
17 ตุลาคม พ.ศ. 2489 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
ก่อนหน้าพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย
ถัดไปเล้ง ศรีสมวงศ์
ดำรงตำแหน่ง
1 มีนาคม พ.ศ. 2495 – 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2498
ก่อนหน้าหม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์
ถัดไปเกษม ศรีพยัคฆ์
ปลัดกระทรวงการคลัง
ดำรงตำแหน่ง
20 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 – 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2508
ถัดไปบุญมา วงศ์สวรรค์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด2 มิถุนายน พ.ศ. 2450
จังหวัดธนบุรี ประเทศสยาม
เสียชีวิต12 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 (78 ปี)
กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ศาสนาพุทธ
คู่สมรสโฉมศรี วินิจฉัยกุล
ลายมือชื่อ

ประวัติ แก้

เสริม วินิจฉัยกุล เป็นบุตรชายคนโตของพระยานิมิราชทรงวุฒิ (สวน วินิจฉัยกุล) กับคุณหญิงเนือง นิมิราชทรงวุฒิ เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2450 ณ บ้านริมคลองมอญ กิ่งอำเภอคลองสาน อำเภอบางยี่เรือ จังหวัดธนบุรี มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 7 คน สมรสกับท่านผู้หญิงโฉมศรี วินิจฉัยกุล (สกุลเดิม โปษยานนท์; บุตรี มหาอำมาตย์ตรี พระยาพิพัฒนธนากร เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 มีบุตรและธิดา 4 คน คือ วินิจ วินิจฉัยกุล สมรสกับนพมาศ วินิจฉัยกุล (สกุลเดิม ทัศนปรีดา) วรรณวิภา อรรถวิภัชน์ สมรสกับโชติชัย อรรถวิภัชน์ คุณหญิงวิลาวัณย์ กำภู ณ อยุธยา สมรสกับพลเอก นายแพทย์ชูฉัตร กำภู ณ อยุธยา และวิวัฒน์ วินิจฉัยกุล สมรสกับกมลารจิสส์ วินิจฉัยกุล (สกุลเดิม โปษยานนท์)

เสริม วินิจฉัยกุลถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคมะเร็งในเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน เมื่อเวลา 6.00 น. ของวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 สิริอายุ 78 ปี 1 เดือน 10 วัน

การศึกษา แก้

  • พ.ศ. 2457 เข้าศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญ
  • พ.ศ. 2468 สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รับรางวัลเกียรตินิยมสูงสุด และเข้าศึกษากฎหมาย ณ โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม
  • พ.ศ. 2472 สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนกฎหมาย เป็นเนติบัณฑิต
  • พ.ศ. 2475 สอบชิงทุนไปศึกษาต่อกฎหมาย ณ ประเทศฝรั่งเศส
  • พ.ศ. 2478 ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูงทางกฎหมายเอกชน และประกาศนียบัตรชั้นสูงทางเศรษฐศาสตร์โดยได้รับเกียรตินิยมสูงสุดของมหาวิทยาลัยปารีส และรับปริญญาดอกเตอร์อังดรัวต์[2]

การรับราชการ แก้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ แก้

อ้างอิง แก้

  1. "ผู้ว่าการจากอดีตถึงปัจจุบัน". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2015-06-22.
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-02. สืบค้นเมื่อ 2013-08-07.
  3. "คณะรัฐมนตรีคณะที่ 27 จากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-04. สืบค้นเมื่อ 2018-04-09.
  4. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-08-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๔๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๔, ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๑๑
  5. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-12-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๔ ตอนที่ ๑๐๗ ง หน้า ๒๙๙๓, ๑๗ ธันวาคม ๒๕๐๐
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-10-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๒ ตอนที่ ๙๕ ง หน้า ๓๐๔๒, ๑๓ ธันวาคม ๒๔๙๘
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา เก็บถาวร 2022-11-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๐ ตอนที่ ๑๔ ง หน้า ๖๙๑, ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๖
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ เก็บถาวร 2022-06-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๑ ตอนที่ ๘๕ ง หน้า ๒๘๕๓, ๒๑ ธันวาคม ๒๔๙๗
ก่อนหน้า เสริม วินิจฉัยกุล ถัดไป
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย    
ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
(17 ตุลาคม พ.ศ. 2489 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 (วาระที่ 2)
1 มีนาคม พ.ศ. 2495 - 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 (วาระที่ 1))
  เล้ง ศรีสมวงศ์
หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์     เกษม ศรีพยัคฆ์