เดอุสวุลต์ (ละติน: Deus vult; 'พระเจ้าประสงค์สิ่งนั้น')[1] เป็นภาษิตภาษาละตินที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสงครามครูเสด โดยกล่าวครั้งแรกในช่วงสงครามครูเสดครั้งที่ 1 ใน ค.ศ. 1096

"Deus lo vult" เป็นภาษิตของคณะของพระคูหาศักดิ์สิทธิ์ (ค.ศ. 1824)

ในปัจจุบัน ภาษิตนี้มีความหมายขึ้นอยู่กับการใช้งาน เช่น ในอุปลักษณ์อิงถึง "น้ำพระทัยพระเจ้า",[2][3] ในภาษิตของคณะนักบวช เช่น คณะของพระคูหาศักดิ์สิทธิ์[4] หรือในปัจจุบันที่ใช้ในสโลแกนอาการกลัวอิสลามโดยพวกออลต์ไรต์บางส่วนและกลุ่มชาตินิยมผิวขาว[5][6][7][8]

ความหมายและความหลากหลาย แก้

ประโยคนี้เป็นการแปลในวัลเกตของ 2 ซามูเอล 14:14 จากคัมภีร์ไบเบิล: nec vult Deus perire animam ("พระเจ้าไม่ได้คิดที่จะทำลายชีวิตใคร")[9][10]

ความหลากหลายในภาษิตของพวกครูเสดมีทั้ง Deus lo vult, Deus le volt (ทั้งคู่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์), Deus id vult (ภาษาละตินคลาสสิก), Dieux el volt (ภาษาฝรั่งเศสเก่า) และ Deus hoc vult (ภาษาละตินคลาสสิก)[11][12] สองอันแรกที่ไม่ตรงตามไวยากรณ์ละตินคลาสสิก เป็นรูปที่ได้รับอิทธิพลด้วยกลุ่มภาษาโรมานซ์ รายงานจาก Heinrich Hagenmeyer [de] คำกำกับนาม 'lo' หรือ 'le' อาจจะอยู่ในภาษิตดั้งเดิมที่อะมัลฟี เพราะนักเขียนทั้งสองในหนังสือ เกสตา ฟรันโกรุม (Gesta Francorum) และ ฮิสโตเรีย เบลลิ ซาคริ (Historia belli sacri) ได้รายงานถึงมัน[13] นักประวัติศาสตร์ Louis Bréhier บันทึกว่า เกสตา ฟรันโกรุม ถูกเขียนในหลายภาษาระหว่างภาษาละติน, ภาษาฝรั่งเศสเก่า และภาษาอิตาลีเก่า[14]

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "Definition of Deus Vult". Merriam-Webster (ภาษาอังกฤษ).{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  2. Agnew, John (2010). "Deus Vult: The Geopolitics of the Catholic Church". Geopolitics. 15 (1): 39–61. doi:10.1080/14650040903420388. ISSN 1465-0045. S2CID 144793259.
  3. Gomez, Adam (2012). "Deus Vult: John L. O'Sullivan, Manifest Destiny, and American Democratic Messianism". American Political Thought. 1 (2): 236–262. doi:10.1086/667616. ISSN 2161-1580.
  4. Luigi G. De Anna; Pauliina De Anna; Eero Kuparinen, บ.ก. (November 29, 1997). Tuitio Europae: Chivalric Orders on the Spiritual Paths of Europe : Proceedings of the Conference "The Spiritual Paths of Europe--Crusades, Pilgrimages, and Chivalric Orders". Turku: University of Turku. p. 65. ISBN 9789512913008.
  5. Kim, Dorothy. "The Alt-Right and Medieval Religions". Berkeley Center for Religion, Peace and World Affairs. Georgetown University. สืบค้นเมื่อ 25 July 2019.
  6. Staff (18 August 2017). "Deconstructing the symbols and slogans spotted in Charlottesville". The Washington Post.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  7. Jones, Dan (10 October 2019). "What the Far Right Gets Wrong About the Crusades". Time (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-11-25.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  8. Guardian agencies in Warsaw (13 November 2017). "Polish president condemns far-right scenes at Independence Day march". The Guardian (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). ISSN 0261-3077. สืบค้นเมื่อ 2019-11-16.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  9. Jacobs, Henry Eyster; Schmauk, Theodore Emanuel (1888). The Lutheran Church Review, Volumes 7–8 (ภาษาอังกฤษ). Alumni Association of the Lutheran Theological Seminary. p. 266.
  10. Vulgate, Regum II, 14:14
  11. Le Monde, histoire de tous les peuples ... (ภาษาฝรั่งเศส). Imprimerie de Béthune et Plon. 1844. p. 327 (see bottom right note).
  12. Mrs. William Busk, Mediaeval Popes, Emperors, Kings, and Crusaders, Or, Germany, Italy, and Palestine, from A.D. 1125 to A.D. 1268, Volume 1 (1854), 15, 396.
  13. Hagenmeyer, Heinrich (1890). Anonymi gesta Francorum et aliorum hierosolymitanorum (ภาษาละติน). C. Winter.
  14. Bréhier, Louis (1925). Histoire anonyme de la première croisade (ภาษาฝรั่งเศส). Les Belles Lettres.

บรรณานุกรม แก้

  • B. Lacroix, "Deus le volt!: la théologie d'un cri", Études de civilisation médiévale (IXe-XIIe siècles). Mélanges offerts à Edmond-René Labande, Poitiers (1974), 461–470.