คริสต์ศาสนิกชนชาวอาหรับ

ชาวอาหรับที่นับถือศาสนาคริสต์
(เปลี่ยนทางจาก อาหรับคริสเตียน)

คริสต์ศาสนิกชนชาวอาหรับ (อาหรับ: ﺍﻟﻤﺴﻴﺤﻴﻮﻥ ﺍﻟﻌﺮﺏ อัลมะซีฮียูน อัลอะร็อบ) เป็นชาวอาหรับที่นับถือศาสนาคริสต์[16] บางส่วนสืบเชื้อสายมาจากเผ่าอาหรับคริสเตียนโบราณที่ไม่ได้เข้ารีตเป็นอิสลาม มีการประเมินว่าคริสต์ศาสนิกชนชาวอาหรับมีจำนวนประมาณ 520,000–1,650,000 คนอาศัยอยู่ในประเทศซีเรีย[1][17] 1,050,000–1,650,000 คน (รวมมาโรไนต์[18]) ในประเทศเลบานอน[19] 221,000 คนในประเทศจอร์แดน[7] 8–9,000,000 คน (รวมคอปต์[20]) ในประเทศอียิปต์[21] ในประเทศอิสราเอล 134,130 คน และในปาเลสไตน์ 50,000 คน

คริสต์ศาสนิกชนชาวอาหรับ
ﺍﻟﻤﺴﻴﺤﻴﻮﻥ ﺍﻟﻌﺮﺏ
คริสต์ศาสนิกชนในประเทศซีเรีย, จอร์แดน, เลบานอน, อิสราเอล, ปาเลสไตน์ และอียิปต์
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
 อียิปต์8,250,000[1]–9,000,000[2]
(รวมคอปต์)[3]
 ซีเรีย520,000[1]–1,650,000[4]
 เลบานอน1,050,000[1]–1,600,000[5]
(รวมมาโรไนต์)[6]
 จอร์แดน221,000[7]
 อิสราเอล177,000[8]
(รวมชาวแอราเมียน)
 อิรัก151,047 [9]
(รวมชาวอัสซีเรีย)[10]
รัฐปาเลสไตน์ รัฐปาเลสไตน์38,000 [11]–50,000[12]
 ตุรกี18,000[13]
 โมร็อกโก8,000[14]–40,000[15]
(รวมชนเบอร์เบอร์)
ภาษา
อาหรับ, ฮีบรู (ในประเทศอิสราเอล), ฝรั่งเศส (ในประเทศเลบานอนกับผู้พลัดถิ่น), อังกฤษ, สเปน และโปรตุเกส (ผู้พลัดถิ่น)
ศาสนา
ศาสนาคริสต์:
โรมันคาทอลิก
(คาทอลิกตะวันออก; ลาติน)
อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์
(แอนติออก, เยรูซาเลม, อเล็กซานเดรีย)
โปรเตสแตนต์

ผู้ย้ายถิ่นจากสังคมอาหรับหรือคริสต์ศาสนิกชนชาวอาหรับพลัดถิ่นมาจากตะวันออกกลาง โดยอาศัยอยู่ทั่วทวีปอเมริกา โดยเฉพาะในประเทศอาร์เจนตินา, ประเทศบราซิล, ประเทศชิลี, ประเทศเม็กซิโก, ประเทศเวเนซุเอลา, ประเทศโคลอมเบีย และสหรัฐ อย่างไรก็ตาม ผู้ย้ายถิ่นในอเมริกา โดยเฉพาะกลุ่มแรก ๆ ไม่สามารถพูดภาษาอาหรับหรือมีเอกลักษณ์ความเป็นอาหรับอยู่เลย[22]

เผ่าอาหรับแรกที่นับถือศาสนาคริสต์น่าจะเป็นราชอาณาจักรแนบาเทียและฆ็อสซานิด ในช่วงศตวรรษที่ 5 - 6 พวกฆ็อสซานิดได้เป็นพันธมิตรกับจักรวรรดิไบแซนไทน์ กลายเป็นกันชนต่อชนเผ่าอาหรับนอกศาสนาในอาระเบีย อันนุอ์มานที่ 3 อิบน์ อัลมุนซิร กษัตริย์องค์สุดท้ายของลัคมิดได้เข้านับถือศาสนาคริสต์[23]

คริสต์ศาสนิกชนชาวอาหรับมีบทบาทสำคัญในสมัยใหม่ และเพราะได้ก่อร่างการศึกษาแก่ชนชั้นสูงและชนชั้นกระฎุมพี[24] พวกเขามีส่วนสำคัญในด้านการเมือง, ธุรกิจ และวัฒนธรรมของโลกอาหรับ[25][26] ปัจจุบัน ชาวอาหรับคริสเตียนยังคงมีบทบาทในสังคมอาหรับ และชาวคริสต์มักมีทรัพย์สิน, การศึกษาดี และเป็นกลางทางการเมือง[27]

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "Christians of the Middle East - Country by Country Facts and Figures on Christians of the Middle East". Middleeast.about.com. 2009-05-09. สืบค้นเมื่อ 2012-12-06.
  2. "Who are Egypt's Coptic Christians?".
  3. ดูCoptic identity
  4. https://gulf2000.columbia.edu/images/maps/Syria_Ethnic_Shift_2010-2018_lg.png. {{cite web}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)
  5. "CIA World Factbook - Lebanon". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-12. สืบค้นเมื่อ 2020-08-03.
  6. ดูMaronites#Identity
  7. 7.0 7.1 Kildani, Hanna (8 July 2015). "Archived copy" الأب د. حنا كلداني: نسبة الأردنيين المسيحيين المقيمين 3.68% (ภาษาอาหรับ). Abouna.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 October 2016. สืบค้นเมื่อ 17 July 2016.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  8. "CBS data on Christian population in Israel (2016)" (ภาษาฮิบรู). Cbs.gov.il.
  9. "The Shlama Population Project". Shlama. สืบค้นเมื่อ 13 June 2019.
  10. ดูAssyrians#Identity and subdivisions
  11. "The Beleaguered Christians of the Palestinian-Controlled Areas, by David Raab". Jcpa.org. สืบค้นเมื่อ 2012-12-06.
  12. Chehata, Hanan (2016-03-22). "The plight and flight of Palestinian Christians" (PDF). Middle East Monitor. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 June 2012. สืบค้นเมื่อ 20 April 2016.
  13. Bundeszentrale für politische Bildung. "Christen in der islamischen Welt". สืบค้นเมื่อ 20 April 2016.
  14. "Christian Converts in Morocco Fear Fatwa Calling for Their Execution". Christianity Today. สืบค้นเมื่อ 15 August 2016.
  15. "'House-Churches' and Silent Masses —The Converted Christians of Morocco Are Praying in Secret". Vice. 2015-03-23. สืบค้นเมื่อ 15 August 2016.
  16. Phares, Walid (2001). "Arab Christians: An Introduction". Arabic Bible Outreach Ministry. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 November 2004.{{cite web}}: CS1 maint: unfit URL (ลิงก์)
  17. https://gulf2000.columbia.edu/images/maps/Syria_Ethnic_Shift_2010-2018_lg.png. {{cite web}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)
  18. ดูMaronites#Identity
  19. "Middle East :: Lebanon — The World Factbook - Central Intelligence Agency". www.cia.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-12. สืบค้นเมื่อ 2020-07-08.
  20. ดูCoptic identity
  21. B. A., Politics and History. "Facts and Figures on Christians of the Middle East". ThoughtCo (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-07-08.
  22. "Demographics". Arab American Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 October 2016. สืบค้นเมื่อ 4 September 2016.
  23. Philip K. Hitti. History of the Arabs. 6th ed.; Macmillan and St. Martin's Press, 1967, pp. 78–84 (on the Ghassanids and Lakhmids) and pp. 87–108 (on Yemen and the Hijaz).
  24. Radai, Itamar (2008). "The collapse of the Palestinian-Arab middle class in 1948: The case of Qatamon" (PDF). Middle Eastern Studies. 43 (6): 961–982. doi:10.1080/00263200701568352. ISSN 0026-3206. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-10-18. สืบค้นเมื่อ 15 August 2016.
  25. Teague, Michael (2010). "The New Christian Question". Al Jadid Magazine. 16 (62). สืบค้นเมื่อ 20 April 2016.
  26. Pacini, Andrea (1998). Christian Communities in the Arab Middle East: The Challenge of the Future. Clarendon Press. pp. 38, 55. ISBN 978-0-19-829388-0.
  27. "Pope to Arab Christians: Keep the Faith". The Huffington Post. 2009-06-15. สืบค้นเมื่อ 20 April 2016.

สารานุกรม แก้

  • Sir Ronald Storrs, The Memoirs of Sir Ronald Storrs. Putnam, New York, 1937.
  • Itamar Katz and Ruth Kark, 'The Greek Orthodox Patriarchate of Jerusalem and its congregation: dissent over real estate' in The International Journal of Middle East Studies, Vol. 37, 2005.
  • Orthodox Shun Patriarch Irineos
  • Seth J. Frantzman, The Strength and the Weakness: The Arab Christians in Mandatory Palestine and the 1948 War, unpublished M.A thesis at The Hebrew University of Jerusalem.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้