อักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน (ตุรกีออตโตมัน: الفبا, elifbâ) เป็นรูปแบบของ อักษรอาหรับ ที่เพิ่มอักษรบางตัวจาก อักษรเปอร์เซีย ใช้เขียนภาษาตุรกีออตโตมัน ในสมัยจักรวรรดิออตโตมัน และในช่วงแรกๆของสาธารณรัฐตุรกี จนถึง พ.ศ. 2471 แม้ว่าในสมัยออตโตมันจะใช้อักษรนี้ แต่กลุ่มชนที่ไม่ใช่มุสลิมในจักรวรรดิออตโตมันจะใช้อักษรอื่น เช่น อักษรอาร์เมเนีย อักษรกรีก อักษรละติน และอักษรฮีบรู

อักษรตุรกีออตโตมัน
ชนิดอักษรไร้สระ
ภาษาพูดตุรกีออตโตมัน
ช่วงยุคค.ศ. 1299–1928
ระบบแม่
ช่วงยูนิโคด
ISO 15924Arab

อักษร แก้

 
ปฏิทินปี 1896 ในเทสซาโลนีกี ในสามบรรทัดแรกเป็นภาษาตุรกีออตโตมัน เขียนด้วยอักษรอาหรับ
เดี่ยว ท้าย กลาง หน้า อักษรลาติน ชื่อ ตุรกีสมัยใหม่ ALA-LC[1] สัทอักษรสากล[2]
ا ـا a elif a, e —, ā, ' æ, e, —, (ʔ)
ء hemze —, ' —, ' —, [ʔ]
ب ـب ـبـ بـ b be b (p) b b (p)
پ ـپ ـپـ پـ pe p p p
ت ـت ـتـ تـ t te t t t
ث ـث ـثـ ثـ se s s
ج ـج ـجـ جـ g cim c c d͡ʒ
چ ـچ ـچـ چـ çim ç ç t͡ʃ
ح ـح ـحـ حـ h ha h h
خ ـخ ـخـ خـ h x
د ـد d dal d d d
ذ ـذ zel z z
ر ـر r re r r ɾ
ز ـز z ze z z z
ژ ـژ je j j ʒ
س ـس ـسـ سـ s sin s s s
ش ـش ـشـ شـ š şın ş ș ʃ
ص ـص ـصـ صـ sad s s
ض ـض ـضـ ضـ dad d, z ż z (d)
ط ـط ـطـ طـ t t, d
ظ ـظ ـظـ ظـ z z
ع ـع ـعـ عـ o ayn ', — —, ʔ
غ ـغ ـغـ غـ gayn g, ğ, (v) ġ [ɣ → g], ◌ː, (v),
ف ـف ـفـ فـ p fe f f f
ق ـق ـقـ قـ q qaf k q k, [q]
ك ـك ـكـ كـ k kef k k k
گ ـگ ـگـ گـ gef (1), kāf-ı fārsī g, ğ, (v) g [g → ɟ], j, (v)
ڭ ـڭ ـڭـ ڭـ ǩ nef, ñef, sağır kef (1), kāf-ı nūnī n ñ n, [ŋ]
ل ـل ـلـ لـ l lam l l l
م ـم ـمـ مـ m mim m m m
ن ـن ـنـ نـ n nun n n n
و ـو w vav v, o, ö, u, ü v, ū, aw, avv, ūv v, o, œ, u, y
ه ـه ـهـ هـ e he (3) h, e, a h (2) h, æ, e, (t)
ی ـی ـیـ یـ j ye y, ı, i y, ī, ay, á, īy j, ɯ, i


หมายเหตุ แก้

  1. ในอักษรส่วนใหญ่ kef, gef และ sağır kef เขียนในแบบเดียวกัน[2] ถึงแม้ว่าจะมี gef อีกรูปแบบที่เป็น "kaf-เล็ก" ของ เช่นเดียวกันกับเส้นบนสองเส้นบน گ โดยทั่วไป เสียง /g/ และ /ŋ/ แสดงด้วยรูปอักษร kef ك[3]
  2. หอสมุดรัฐสภาแนะนำว่า รูป he (هـ‎) ในคำส่วนฐานโครงสร้าง (construct state) ทับศัพท์เป็น t และคำที่ลงท้ายด้วย he ที่ใช้ในแบบคำวิเศษณ์ ควรทับศัพท์เป็น tan
  3. ภาษาเปอร์เซียและออตโตมันใช้รูปแบบ vāv, he, ye ในขณะที่ภาษาอาหรับใช้รูปแบบ he, vāv, ye[3]
  4. อีกสัญลักษณ์หนึ่ง ซึ่งไม่ถือว่าเป็นอักษร มีชื่อว่า te merbūṭa ('t เชื่อม') ซึ่งบ่งบอกถึงตัวท้ายที่เป็นเอกพจน์หญิงในภาษาอาหรับ และมักพบในข้อความออตโตมัน Te merbūṭa อยู่ตรงท้ายคำเสมอ

อักษรอื่นๆ แก้

อักษรอื่นสำหรับผู้ที่ไม่ใช่มุสลิมใช้เขียนภาษาตุรกีออตโตมันมีหลายชนิด นวนิยายเรื่องแรกที่เขียนในสมัยจักรวรรดิออตโตมันคือเรื่อง Akabi เขียนด้วยอักษรอาร์เมเนีย เมื่อครอบครัวชาวอาร์เมเนียเข้ามาในออตโตมันสมัยสุลต่านอับดุลเมจิดที 1 ยังคงบันทึกภาษาตุรกีออตโตมันด้วยอักษรอาร์เมเนีย[4] ชาวกรีกและชาวยิวในจักรวรรดิออตโตมันใช้อักษรกรีกและอักษรฮีบรูแบบราชี แต่ชาวกรีกที่นับถือศาสนาอิสลามจะเขียนภาษากรีกด้วยอักษรอาหรับ

ตัวเลข แก้

ภาษาตุรกีออตโดตมันใช้ตัวเลขอาหรับตะวันออก ต่อไปนี้เป็นตัวเลขและการสะกดในภาษาตุรกีสมัยใหม่:

รูปอาหรับ ตัวเลข ตุรกีออตโตมัน[5] ตุรกีสมัยใหม่
٠ 0
صفر
sıfır
١ 1
بر
bir
٢ 2
ایكی
iki
٣ 3
اوچ
üç
٤ 4
دورت
dört
٥ 5
بش
beş
٦ 6
آلتی
altı
٧ 7
یدی
yedi
٨ 8
سكیز
sekiz
٩ 9
طوقوز
dokuz
١٠ 10
اون
on

อ้างอิง แก้

  1. "Ottoman script" (PDF). Library of Congress. (166 KB), Library of Congress. Retrieved January 14, 2012.
  2. 2.0 2.1 V. H. Hagopian, Ottoman-Turkish Conversation-Grammar, London and Heidelberg, 1907, p. 1-25 full text
  3. 3.0 3.1 Buğday, Korkut M. (2009). The Routledge introduction to literary Ottoman. Routledge. ISBN 9780415493383. OCLC 281098978.
  4. Mansel, Philip (2011). Constantinople. Hachette UK. ISBN 1848546475.
  5. "Ottoman-Turkish conversation-grammar; a practical method of learning the Ottoman-Turkish language". Heidelberg, J. Groos; New York, Brentano's [etc., etc.] 1907.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้