ชาห์มุขี (ปัญจาบ: شاہ مُکھی, อักษรคุรมุขี: ਸ਼ਾਹਮੁਖੀ, แปลตรงตัว'จากพระโอษฐ์ของชาห์') เป็นอักษรเปอร์เซีย-อาหรับดัดแปลงที่มุสลิมชาวปัญจาบ (โดยหลักอยู่ในแคว้นปัญจาบ) ใช้เขียนภาษาปัญจาบ[1][2][3][4] โดยทั่วไปเขียนด้วยแบบอักษรแนสแทอ์ลีก[3][4] ซึ่งภาษาอูรดูก็ใช้แบบอักษรนี้ด้วย[5] อักษรเปอร์เซีย-อาหรับเป็นหนึ่งในสองอักษรที่ใช้เขียนภาษาปัญจาบ ส่วนอีกอักษรหนึ่งคืออักษรคุรมุขีที่ชาวซิกข์และฮินดูในรัฐปัญจาบใช้[3][6][4]

อักษรชาห์มุขี
"ชาห์มุขี" ในแบบอักษรแนสแทอ์ลีก
ชนิดอักษรไร้สระ
ภาษาพูดภาษาปัญจาบ
ระบบแม่
ช่วงยูนิโคดU+0600 to U+06FF

U+0750 to U+077F
U+08A0 to U+08FF
U+FB50 to U+FDFF

U+FE70 to U+FEFF
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

อักษรชาห์มุขีเขียนจากขวาไปซ้าย ในขณะที่อักษรคุรมุขีเขียนจากซ้ายไปขวา[7][8][4]

อักษรชาห์มุขีใช้ครั้งแรกโดยกวีที่นับถือลัทธิศูฟีในปัญจาบ[9] และกลายเป็ระบบการเขียนตามแบบแผนของมุสลิมในแคว้นปัญจาบ ประเทศปากีสถาน หลังการขีดเส้นแบ่งอินเดีย ในขณะที่ชาวฮินดูและซิกข์ส่วนใหญ่ในรัฐปัญจาบ ประเทศอินเดีย ใช้อักษรคุรมุขีหรือเทวนาครีในการเขียนภาษาปัญจาบ[6]

ชุดตัวอักษร แก้

เครื่องหมายเสริมสัทอักษรสระ แก้

ถึงแม้ว่าปกติจะไม่เขียนเครื่องหมายและกล่าวถึงเฉพาะโดยนัย[4] อักษรชาห์มุขีมีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรจากภาษาอาหรับ เหมือนกันภาษาอูรดู[10] เพื่อแสดงสระสั้น[11]

เครื่องหมายเสริมสัทอักษรในอักษรชาห์มุขี
สัญลักษณ์ ชื่อ การใช้งาน สัทอักษรสากล หมายเหตุ
ٰ Khari Zabar a [ə] ใช้ในคำยืมภาษาอาหรับ เช่น ‘عیسیٰ’ (‘พระเยซู’)
َ Zabar a [ə]
ً Zabar Tanwīn -an [ən] ใช้ในคำยืมภาษาอาหรับ เช่น ‘فوراً’ (‘ทันที’)
ٓ Maddah ā [ɑː] ใช้เฉพาะ Alif Maddah (ا + ٓ = آ) ไม่มีการเขียนแบบเดี่ยว
ِ Zer i [ɪ] เขียนใต้ตัวอักษร
ٍ Zer Tanwīn in [ɪn] แทบไม่พบในคำยืมภาษาอาหรับ เขียนใต้ตัวอักษร
ُ Pesh u [u]
ٔ Hamza หลายแบบ - ใช้บนสระเพื่อระบุสระประสมระหว่างสองคำ เช่น: ‘ئ’, ‘ۓ’, ‘ؤ‘ และ أ ไม่มีการเขียนแบบเดี่ยว
ّ Tashdīd ซ้ำเสียง [.] ทำให้พยัญชนะมีสองตัว ด้วยการตั้งบนพยัญชนะนั้น - کّ = kk

พยัญชนะ แก้

ลำดับ ชื่อ[12] สัทอักษรสากล รูปท้าย รูปกลาง รูปต้น รูปเดี่ยว อักษรคุรมุขี
1 الف alif /ɑː,äː, ʔ, ∅/ ـا ـا ا ا , (รูปกลาง)
2 بے /b/ ـب ـبـ بـ ب
3 پے /p/ ـپ ـپـ پـ پ
4 تے /t/ ـت ـتـ تـ ت
5 ٹے ṭē /ʈ/ ـٹ ـٹـ ٹـ ٹ
6 ثے s̱ē /s/ ـث ـثـ ثـ ث
7 جيم jīma /d͡ʒ/ ـج ـجـ جـ ج
8 چے /t͡ʃ/ ـچ ـچـ چـ چ
9 وڈّی حے waḍḍi ḥē /ɦ/ ـح ـحـ حـ ح
10 خے k͟hē /x/ ـخ ـخـ خـ خ ਖ਼
11 دال dāla /d/ ـد ـد د د
12 ڈال ḍāla /ɖ/ ـڈ ـڈ ڈ ڈ
13 ذال ẕāla /z/ ـذ ـذ ذ ذ ਜ਼
14 رے /r/ ـر ـر ر ر
15 ڑے ṛē /ɽ/ ـڑ ـڑ ڑ ڑ
16 زے /z/ ـز ـز ز ز ਜ਼
17 ژے zhē /ʒ/ ـژ ـژ ژ ژ -
18 سین sīna /s/ ـس ـسـ سـ س
19 شین shīna /ʃ/ ـش ـشـ شـ ش ਸ਼
20 صاد ṣwāda /s/ ـص ـصـ صـ ص
21 ضاد ẓwāda /z/ ـض ـضـ ضـ ض ਜ਼
22 طوۓ t̤o'ē /t/ ـط ـطـ طـ ط
23 ظوۓ z̤o'ē /z/ ـظ ـظـ ظـ ظ ਜ਼
24 عین ʻaina /ə,ɑː,ɪ,iː,u,uː,oː,ɔː,eː,ɛː, ʔ, ∅/ ـع ـعـ عـ ع ਅ,ਆ,ਇ,ਈ,ਉ,ਊ,ਏ,ਐ,ਓ,ਔ
25 غین g͟haina /ɣ/ ـغ ـغـ غـ غ ਗ਼
26 فے /f/ ـف ـفـ فـ ف ਫ਼
27 قاف qāfa /q/ ـق ـقـ قـ ق ਕ਼
28 کاف kāfa /k/ ـک ـکـ کـ ک
29 گاف gāfa /ɡ/ ـگ ـگـ گـ گ
30 لام lāma /l/ ـل ـلـ لـ ل
31[13] لؕام ḷāma /ɭ/ ـلؕ ـلؕـ لؕـ لؕ ਲ਼
32 میم mīma /m/ ـم ـمـ مـ م
33 نون nūna /n, ɲ/ ـن ـنـ نـ ن
34[13] ݨون ṇūṇa /ɳ/ ـݨ ـݨـ ݨـ ݨ
35 نون غنّہ nūn ġunnah /◌̃, ŋ/ ـں ـن٘ـ ن٘ـ ں

(ن٘)

,
36 واؤ wā'oa /ʋ, uː, ʊ, oː, ɔː/ ـو ـو و و ,
37 نکی ہے
گول ہے
choṭī hē
gol hē
/ɦ, ɑː, e:/ ـہ ـہـ ہـ ہ
38 دو چشمی ہے do-cashmī hē /ʰ/ หรือ /ʱ/ ـھ ـھـ ھ ھ หลายแบบ / ੍ਹ
39 ہمزہ hamzah /ʔ/, /∅/ ء ء ء ء -
40 چھوٹی يے choṭī yē /j, iː/ ـی ـیـ یـ ی ,
41 وڈّی يے waḍḍi yē /ɛː, eː/ ـے N/A N/A ے ,

ไม่มีศัพท์ภาษาปัญจาบใดที่เริ่มต้นด้วย ں, ھ, ڑ หรือ ے

  • ے (waddi ye) พบเฉพาะในตำแหน่งท้าย เมื่อมีรูปเขียนที่ออกเสียงเป็น e (ਏ) หรือ æ (ਐ) และอยู่ในตำแหน่งต้นหรือกลาง จะเขียนในรูป یَ แทน
  • รูปสระแบ่งได้ดังนี้:
อักษรโรมัน ท้าย กลาง ต้น
a (ਅ) ـہ ـَ اَ
ā (ਆ) یٰ ـَا آ
i (ਇ) N/A ـِ اِ
ī (ਈ) ـِى ـِيـ اِی
ē (ਏ) ـے‬ ـيـ اے
ai (ਐ) ـَے‬ ـَيـ اَے
u (ਉ) N/A ـُ اُ
ū (ਊ) ـُو اُو
o (ਓ) ـو او
au (ਔ) ـَو اَو

ภาพ แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Evans, Lorna Priest; Malik, M.G. Abbas (1 May 2019). "Unicode Proposal for ArLaam" (PDF). Unicode. Punjabi Parchar. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 April 2020. สืบค้นเมื่อ 21 April 2020.
  2. Singh Saini, Tejineder; Singh Lehal, Gurpreet; S Kalra, Virinder (August 2008). "Shahmukhi to Gurmukhi Transliteration System". Aclweb.org. Coling 2008 Organizing Committee: 177–180. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 August 2017. สืบค้นเมื่อ 21 April 2020.
  3. 3.0 3.1 3.2 Sharma, Saurabh; Gupta, Vishal (May 2013). "Punjabi Documents Clustering System" (PDF). Journal of Emerging Technologies in Web Intelligence. 5 (2): 174. doi:10.4304/JETWI.5.2.171-187. S2CID 55699784. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 21 April 2020. สืบค้นเมื่อ 21 April 2020.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 Dhanju, Kawarbir Singh; Lehal, Gurpreet Singh; Saini, Tejinder Singh; Kaur, Arshdeep (October 2015). "Design and Implementation of Shahmukhi Spell Checker" (PDF). Learnpunjabi.org. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2018. สืบค้นเมื่อ 2 May 2020.
  5. Malik, Muhammad Ghulam Abbas; Boitet, Christian; Bhattcharyya, Pushpak (27 June 2012) [2010]. "ANALYSIS OF NOORI NASTA'LEEQ FOR MAJOR PAKISTANI LANGUAGES". King AbdulAziz University. Penang, Malaysia. p. 4. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 August 2017. สืบค้นเมื่อ 21 April 2020.
  6. 6.0 6.1 Dorren, Gaston (2018). Babel: Around the World in Twenty Languages. Profile Books. ISBN 978-1782832508.
  7. Sharma, Saurabh; Gupta, Vishal (May 2013). "Punjabi Documents Clustering System" (PDF). Journal of Emerging Technologies in Web Intelligence. 5 (2): 174. doi:10.4304/JETWI.5.2.171-187. S2CID 55699784. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 21 April 2020. สืบค้นเมื่อ 21 April 2020.
  8. Handbook of Literacy in Akshara Orthography. Springer. 2019. p. 142. ISBN 978-3030059774.
  9. Omer Tarin, 'Hazrat Baba Farid Ganj Shakar and the evolution of the literary Punjabi:A Brief Review' in Journal of Humanities and Liberal Arts, 1995, pp.21-30
  10. Bhardwaj, Mangat (2016). Panjabi: A Comprehensive Grammar. Routledge. p. 378. ISBN 978-1317643265. It is an ancient Arabic writing tradition (carried on in Persian, Urdu and Shahmukhi) to omit the diacritics (except the Hamza) in ordinary writing and to depend on the context to interpret a word.
  11. "Punjabi - Shahmukhi Script". sanlp.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 September 2019. สืบค้นเมื่อ 22 April 2020.
  12. Delacy 2003, p. XV–XVI.
  13. 13.0 13.1 แทบไม่ค่อยใช้ในวรรณกรรม เว้นแต่จะระบุการออกเสียงของอักษรที่ไม่ม้วนลิ้น

แหล่งข้อมูลอื่น แก้