อักษรคุปตะ พัฒนามาจากอักษรพราหมี จัดอยู่ในกลุ่มอินเดียเหนือ พบในสมัยราชวงศ์คุปตะ ในช่วงพ.ศ. 943 อักษรนี้ยังใช้ต่อมา แม้ว่าราชวงศ์คุปตะจะหมดอำนาจลง ด้วยการรุกรานของชาวหุณ (Hun) เมื่อราว พ.ศ. 1100 อีกราว 200 ปีต่อมา อักษรนี้พัฒนาไปเป็นอักษรนคริ และอักษรสรทะ ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของอักษร ที่ใช้ในอินเดียเหนือในปัจจุบัน

อักษรคุปตะ
(อักษรพราหมีตอนปลาย)
จารึกถ้ำโกปิกะแห่งอนันทวรมัน ในภาษาสันสกฤตและใช้อักษรคุปตะ ถ้ำบาราบาร์ ศตวรรษที่ 5 หรือ 6
ชนิดอักษรสระประกอบ
ภาษาพูดภาษาสันสกฤต
ช่วงยุคช่วงแรก: ศตวรรษที่ 1[1] พัฒนารูปแบบ: ป. ค.ศ. 400–?
ระบบแม่
ระบบลูกDeodhai
นาครี
ศารทา
สิทธัม
Nepal Lipi
[a] ต้นกำเนิดที่เป็นภาษาเซมิติกของอักษรพราหมีไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับตามสากล
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

อ้างอิง แก้

  1. Gazetteer of the Bombay Presidency, p. 30, ที่ Google Books, Rudradaman’s inscription from 1st through 4th century CE found in Gujarat, India, Stanford University Archives, pages 30–45

แหล่งข้อมูลอื่น แก้