ออร์นิทิสเกีย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ornithischia, /ˌɔːrnəˈθɪski.ə/) เป็นเคลดหลักของไดโนเสาร์กินพืชที่สูญพันธุ์แล้ว ซึ่งมีความโดดเด่นด้วยโครงสร้างอุ้งเชิงกรานที่คล้ายคลึงกันกับของนกอย่างเผิน ๆ[3] ชื่อ Ornithischia หรือ "สะโพกนก" สะท้อนถึงความคล้ายคลึงของโครงสร้างกระดูก และมาจากรากภาษากรีกว่า ornith- (ὀρνιθ-) หมายถึง "นก" กับ ischion (ἴσχιον)[a] หมายถึง "สะโพก"[4] อย่างไรก็ตาม นกถือเป็นญาติห่าง ๆ จากกลุ่มนี้ เนื่องจากนกเป็นไดโนเสาร์เทอโรพอด[3] มีหลักฐานอย่างหนักแน่นว่ามีออร์นิทิสเกียกลุ่มหนึ่งอาศัยเป็นฝูง[3][5]ที่มักแยกตามกลุ่มอายุ โดยไดโนเสาร์วัยเด็กจะแยกฝูงออกจากวัยผู้ใหญ่[6] ไดโนเสาร์บางชนิดมีหนังที่ปกคลุมด้วยสิ่งที่มีรูปร่างเป็นเส้น (filamentous; คล้ายขนหรือขนนก) บางส่วน และมีประเด็นโต้แย้งว่าหนังที่พบในตัวอย่างชนิดอย่าง เทียนอฺวี่หลง, ซิตตะโกซอรัส[7] และ Kulindadromeus อาจมีขนนกโบราณ[8]

ออร์นิทิสเกีย
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่:
ยุคจูแรสซิกตอนต้นยุคครีเทเชียสตอนปลาย, 200.91–66Ma (น่าจะมีบันทึกถึงยุคไทรแอสซิก)
ภาพชุดโครงกระดูดฟอสซิลออร์นิทิสเกีย ตามเข็มนาฬิกาจากบนซ้าย: Heterodontosaurus (Heterodontosauridae), Nipponosaurus (Ornithopoda), Borealopelta (Ankylosauria), ไทรเซราทอปส์ (Ceratopsia), Stegoceras (Pachycephalosauria) และ สเตโกซอรัส (Stegosauria)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
อาณาจักร: สัตว์
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
เคลด: ไดโนเสาร์
เคลด: ออร์นิทิสเกีย
Seeley, 1888
กลุ่มย่อย[1]
ชื่อพ้อง

ไดโนเสาร์ที่อยู่ในอันดับนี้ เช่น สเตโกซอรัส, ไทรเซราทอปส์, ไมอาซอรา เป็นต้น

หมายเหตุ แก้

  1. รูปพหุพจน์ ischia

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 Madzia, D.; Arbour, V.M.; Boyd, C.A.; Farke, A.A.; Cruzado-Caballero, P.; Evans, D.C. (2021). "The phylogenetic nomenclature of ornithischian dinosaurs". PeerJ. 9: e12362. doi:10.7717/peerj.12362. PMC 8667728. PMID 34966571.
  2. Ferigolo, J.; Langer, M. C. (2007). "A Late Triassic dinosauriform from south Brazil and the origin of the ornithischian predentary bone". Historical Biology. 19: 23–33. doi:10.1080/08912960600845767. S2CID 85819339.
  3. 3.0 3.1 3.2 Fastovsky, David E.; Weishampel, David B. (2012). Dinosaurs: A Concise Natural History. Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 978-1107276468.
  4. Colbert, Edwin H. (Edwin Harris); Knight, Charles Robert (1951). The dinosaur book: the ruling reptiles and their relatives. New York: McGraw-Hill. p. 152.
  5. Qi, Zhao; Barrett, Paul M.; Eberth, David A. (2007-09-01). "Social Behaviour and Mass Mortality in the Basal Ceratopsian Dinosaur Psittacosaurus (early Cretaceous, People's Republic of China)" (PDF). Palaeontology (ภาษาอังกฤษ). 50 (5): 1023–1029. Bibcode:2007Palgy..50.1023Q. doi:10.1111/j.1475-4983.2007.00709.x. ISSN 1475-4983. S2CID 128781816.
  6. Zhao, Q. (2013). "Juvenile-only clusters and behaviour of the Early Cretaceous dinosaur Psittacosaurus". Acta Palaeontologica Polonica. doi:10.4202/app.2012.0128.
  7. Mayr, Gerald; Peters, Stefan D.; Plodowski, Gerhard; Vogel, Olaf (2002-08-01). "Bristle-like integumentary structures at the tail of the horned dinosaur Psittacosaurus". Naturwissenschaften (ภาษาอังกฤษ). 89 (8): 361–365. Bibcode:2002NW.....89..361M. doi:10.1007/s00114-002-0339-6. ISSN 0028-1042. PMID 12435037. S2CID 17781405.
  8. Godefroit, P.; Sinitsa, S.M.; Dhouailly, D.; Bolotsky, Y.L.; Sizov, A.V.; McNamara, M.E.; Benton, M.J.; Spagna, P. (2014). "A Jurassic ornithischian dinosaur from Siberia with both feathers and scales" (PDF). Science. 345 (6195): 451–455. Bibcode:2014Sci...345..451G. doi:10.1126/science.1253351. hdl:1983/a7ae6dfb-55bf-4ca4-bd8b-a5ea5f323103. PMID 25061209. S2CID 206556907. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-02-09. สืบค้นเมื่อ 2016-08-28.
  • Sereno, P.C. (1986). "Phylogeny of the bird-hipped dinosaurs (order Ornithischia)". National Geographic Research. 2 (2): 234–256.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้