หิงคลาชมาตามนเทียร

หิงคลาชมาตา (บาโลจ: هنگلاج ماتا, อูรดู: ہنگلاج ماتا; Hinglaj Mata) หรือ หิงคลาชเทวี, หิงคูลามาตา และ นานีมนเทียร เป็นมนเทียรในเมืองหิงคลาชบนริมฝั่งมากรันในอำเภอลัสเบลา แคว้นบาโลชิสถาน ตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติหิงคุล ที่นี่เป็นหนึ่งใน 51 ศักติปีฐตามความเชื่อของลัทธิศักติ[1] และเป็นหนึ่งในสามศักติปีฐที่ตั้งอยู่ในประเทศปากีสถาน อีกสองที่คือศิวหรการัย และ ศารทาปีฐ[2] หิงคลาชมาตาเชื่อกันว่าเป็นปางหนึ่งของพระแม่ทุรคา ในถ้ำขนาดใหญ่ในภูเขาริมฝั่งแม่น้ำหิงคุล[3] ในช่างสามทศวรรษที่ผ่านมา ที่นี่กลายเป็นศูนย์รวมหนึ่งของชุมชนชาวฮินดูในปากีสถาน[4] และยังเป็นแหล่งจาริกแสวงบุญของฮินดูที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศปากีสถาน มีผู้เข้าร่วมพิธีมิงคลาชยาตรามากกว่า 250,000 คน[5]

หิงคชาชมาตา
ہنگلاج ماتا
องค์หิงคลาชมาตา
ศาสนา
ศาสนาศาสนาฮินดู
เขตอำเภอลัสเบลา
เทพหิงคลาชมาตา (เป็นปางหนึ่งของอาทิปรศากติ)
เทศกาลตีรถยาตราเวลาสี่วันในเดือนเมษายน, นวราตรี
ที่ตั้ง
ที่ตั้งหิงคลาช
รัฐแคว้นบาโลชิสถาน
ประเทศปากีสถาน
หิงคลาชมาตามนเทียรตั้งอยู่ในแคว้นบาโลชิสถาน ประเทศปากีสถาน
หิงคลาชมาตามนเทียร
ที่ตั้งในแคว้นบาโลชิสถาน ประเทศปากีสถาน
หิงคลาชมาตามนเทียรตั้งอยู่ในประเทศปากีสถาน
หิงคลาชมาตามนเทียร
หิงคลาชมาตามนเทียร (ประเทศปากีสถาน)
พิกัดภูมิศาสตร์25.0°30′50″N 65.0°30′55″E / 25.51389°N 65.51528°E / 25.51389; 65.51528
เว็บไซต์
www.hinglajmata.com

อ้างอิง แก้

  1. Raja 2000, p. 186.
  2. Kunal Chakrabarti; Shubhra Chakrabarti (2013). Historical Dictionary of the Bengalis. Scarecrow. p. 430. ISBN 978-0-8108-8024-5.
  3. Dalal 2011, pp. 158–59.
  4. Schaflechner, Jürgen (2018). Hinglaj Devi : identity, change, and solidification at a Hindu temple in Pakistan. New York, NY: Oxford University Press. ISBN 9780190850555. OCLC 1008771979.
  5. "Mata Hinglaj Yatra: To Hingol, a pilgrimage to reincarnation". City: Karachi. The Express Tribune. TNN. 2 August 2017. สืบค้นเมื่อ 22 February 2020.

บรรณานุกรม แก้