หน้าบัน คือบริเวณครึ่งวงกลมหรือเกือบสามเหลี่ยมเหนือประตูทางเข้าที่อยู่ระหว่างทับหลังและโค้ง (arch) [1] ซึ่งจะมีรูปสลักตกแต่งหรือเครื่องตกแต่งอื่นๆ [2]

การตกแต่งหน้าบัน
วัดราชบุรณราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร

สถาปัตยกรรมเกือบทุกแบบจะมีองค์ประกอบนี้ [3] ผู้คิดค้นการสร้างหน้าบันเป็นคือชาวอียิปต์โบราณประมาณ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช ต่อมาก็ปรากฏในสถาปัตยกรรมกรีก สถาปัตยกรรมของคริสต์ศาสนา และ สถาปัตยกรรมของศาสนาอิสลาม[4]

หน้าบันในพุทธศาสนสถาน แก้

 
หน้าบันโรมาเนสก์ คริสต์ศตวรรษที่ 12 ของอารามเวเซอแลในประเทศฝรั่งเศส

หน้าบัน คือ “องค์ประกอบอาคารที่ใช้อิฐหรือไม้ ก่อหรือปิดทับบริเวณส่วนที่เป็นโพรงของโครงจั่วหลังคา เพื่อป้องกันไม่ให้แดดหรือฝนสาดเข้าไปภายในอาคาร นิยมแกะสลักหรือปั้นปูนประดับตกแต่ง” [5] ตัวอย่างหน้าบันที่มีชื่อเสียง ได้แก่

หน้าบันในคริสต์ศาสนสถาน แก้

หน้าบันของกรีกหรือคริสต์ศาสนสถานจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับศาสนา [6] ล้อมรอบด้วยแถบรูปแกะสลักที่เรียกว่าอาร์ชิโวลท์ (archivolt) [7]

หัวเรื่องบางหัวเรื่องที่นิยมตกแต่งด้านหน้าโบสถ์คริสต์ก็มี

ดูเพิ่ม แก้

สมุดภาพ แก้

อ้างอิง แก้

  1. "Glossary - Tympanum". Architecture of the Indian Subcontinent. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-06. สืบค้นเมื่อ 2007-06-28.
  2. "Glossary of Medieval Art and Architecture - tympanum". University of Pittsburgh. สืบค้นเมื่อ 2007-06-23.
  3. "Illustrated Architecture Dictionary - Tympanum". freenet.buffalo.edu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-02-22. สืบค้นเมื่อ 2007-06-25.
  4. Donald Routledge Hill (1996) , "Engineering", in Roshdi Rashed, Encyclopedia of the History of Arabic Science, Vol. 3, p. 751-795 [769].
  5. "หน้าบัน". www.elearning.su.ac.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-01-16. สืบค้นเมื่อ 2008-01-16. ความหมายของรองศาสตราจารย์สมคิด จิระทัศนกุล
  6. "Tympanum". www.OntarioArchitecture.com. สืบค้นเมื่อ 2007-06-25.
  7. "Glossary of Medieval Art and Architecture - archivolt". University of Pittsburgh. สืบค้นเมื่อ 2007-06-23.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้