สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (อังกฤษ: Socialist Federal Republic of Yugoslavia, SFR Yugoslavia, SFRY) เป็นประเทศในยุคสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยม ปกครองในยุครัฐคอมมิวนิสต์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1945 ถึง ค.ศ. 1992 ในคาบสมุทรบอลข่านและล่มสลายหลังจากสงครามยูโกสลาเวีย ในปี ค.ศ. 1990 และเคยเป็นอดีตรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่ ค.ศ. 1948

สหพันธ์สาธารณรัฐประชาชนยูโกสลาเวีย (1945–1963)
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (1963–1992)

1945–1992
เพลงชาติ"เฮ สลาฟ" ("Hey, Slavs") เรา ชาวสลาฟ
ที่ตั้งของยูโกสลาเวีย
สถานะรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต ถึงปี 1948
เมืองหลวงเบลเกรด
ภาษาทั่วไปภาษาทางการ: เซอร์เบีย-โครเอเชีย
             มาซิโดเนีย
             สโลวีเนีย
ภาษาชนกลุ่มน้อย: แอลเบเนีย
               ฮังการี
               ตุรกี
การปกครองสหพันธ์ ลัทธิมากซ์–เลนิน
รัฐพรรคการเมืองเดียว สาธารณรัฐสังคมนิยม (1945–1948)
สหพันธ์ ลัทธิตีโต
รัฐพรรคการเมืองเดียว สาธารณรัฐสังคมนิยมทางตรงภายใต้ระบอบเผด็จการผู้ทรงคุณ (1948–1980)
สหพันธ์ ลัทธิตีโต
รัฐพรรคการเมืองเดียว สาธารณรัฐสังคมนิยมทางตรง (1980-1990)
สหพันธ์ ระบบรัฐสภา
สาธารณรัฐสังคมนิยมทางตรง (1990–1992)
ประธานาธิบดี 
• 1945-1953
Ivan Ribar (first)
• 1953-1980
ยอซีป บรอซ ตีโต
• 1991-1992
Stjepan Mesić (last)
นายกรัฐมนตรี 
• 1945-1963
ยอซีป บรอซ ตีโต (first)
• 1989-1991
Ante Marković (last)
เลขาธิการ 
• 1945-1980
ยอซีป บรอซ ตีโต (first)
• 1989-1990
Milan Pančevski (last)
สภานิติบัญญัติประธานรัฐสภา
Chamber of Republics and Provinces
Federal Chamber
ยุคประวัติศาสตร์สงครามเย็น
• Proclamation
29 พฤศจิกายน 1945
24 ตุลาคม 1945
• Constitutional reform
21 กุมภาพันธ์ 1974
25 มิถุนายน 1991 - 27 เมษายน 1992
พื้นที่
กรกฎาคม 1989255,804 ตารางกิโลเมตร (98,766 ตารางไมล์)
ประชากร
• กรกฎาคม 1989
23724919
สกุลเงินดีนาร์ยูโกสลาฟ
เขตเวลาUTC+1
รหัสโทรศัพท์38
โดเมนบนสุด.yu
ก่อนหน้า
ถัดไป
สหพันธ์ประชาธิปไตยยูโกสลาเวีย
โครเอเชีย
สโลวีเนีย
มาซิโดเนีย
สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย
คอซอวอ
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ เซอร์เบีย
 โครเอเชีย
 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
 มาซิโดเนียเหนือ
 มอนเตเนโกร
 สโลวีเนีย
 คอซอวอ [a]
  1. ^ State name in Serbo-Croatian and Macedonian languages (the name is the same in the two), spelled in the [[Gaj's Latin alphabet|Latin alphabet]]. (See Name section for details.)
  2. ^ State name in Serbo-Croatian and Macedonian languages, spelled in Cyrillic.
  3. ^ State name in the Slovene language. Slovene has used the Latin alphabet exclusively.

ที่มา แก้

ยูโกสลาเวีย, ที่ใช้ในภาษาไทยนั้นทับศัพท์จากปริวรรตเป็นอักษรละตินว่า Jugoslavija, โดยการแยกคำดังนี้ jug (ภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย "j" ปริวรรตเป็นอักษรภาษาอังกฤษตรงกับ "y") และ slavija. คำแปลในภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย ภาษามาซิโดเนีย, และ ภาษาสโลวีเนีย คำว่า jug หมายถึง "ทิศใต้", ส่วนคำว่า slavija ("สลาเวีย") หมายถึง ("ดินแดนสลาฟ"). คำว่า Jugoslavija "หมายถึง" "สลาฟ-ใต้" หรือ "ดินแดนแห่งชาวสลาฟตอนใต้". เป็นการรวมตัวของ 6 ชนชาติในดินแดนสลาฟใต้ ซึ่งประกอบด้วย: ชาวโครเอเชีย, ชาวมาซิโดเนีย, ชาวมอนเตเนโกร, ชาวบอสเนีย, ชาวเซิร์บ และ ชาวสโลวีน. ยูโกสลาเวีย ได้ประกาศใช้เป็นชื่อประเทศอย่างเป็นทางการเมื่อ ค.ศ. 1945 จนถึง ค.ศ. 1992.[1]

ค.ศ. 1918 ยูโกสลาเวีย ได้มีการสถาปนาอย่างเป็นทางการภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ว่า "ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และ สโลวีน". ภายหลัง สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 ได้มีการเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย" เมื่อ ค.ศ. 1929 แต่คำว่า "ยูโกสลาเวีย" เป็นชื่อเรียกกันอย่างง่าย ๆ มาตั้งแต่ต้น.[1] ระหว่างช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 สภาต่อต้านลัทธิฟาสซิสต์เพื่อการปลดปล่อยยูโกสลาเวีย (AVNOJ) ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1943 มีภารกิจในการรวมชาติขึ้นใหม่ภายใต้ สหพันธรัฐประชาธิปไตยยูโกสลาเวีย (DF Yugoslavia, DFY), โดยมีรูปแบบการปกครองของสาธารณรัฐ-หรือ-ราชอาณาจักรเพียงในนาม.

ค.ศ. 1945, ได้ยกสถานะประเทศเป็น สหพันธ์สาธารณรัฐประชาชนยูโกสลาเวีย (FPR Yugoslavia, FPRY), ภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ในปี ค.ศ. 1946[2] ค.ศ. 1963 ได้ยกสถานะประเทศอีกครั้งเป็น สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (SFR Yugoslavia, SFRY). ชื่อประเทศอย่างเป็นทางการ ได้รับความนิยมจากประชาชนโดยใช้ภาษราชการทั้ง 3 ภาษาของยูโกสลาเวีย ซึ่งมีระยะเวลาใช้นานที่สุด. ชื่อเรียกในภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย, ส่วนภาษาสโลวีเนีย มีความแตกต่างในการเขียน และ อ่านออกเสียง "Socialist". ดังนี้:

  • ภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย และ ภาษามาซิโดเนีย
    • ปริวรรตเป็นอักษรละติน: Socijalistička Federativna Republika Jugoslavija.
    • อักษรซีริลลิก: Социјалистичка Федеративна Република Југославија.
    • เสียงอ่านภาษาบอสเนีย-โครเอเชีย-มอนเตเนโกร-เซอร์เบีย: [sot͡sijalǐstit͡ʃkaː fêderatiːʋnaː repǔblika juɡǒslaːʋija]
    • เสียงอ่านภาษามาซิโดเนีย: [sɔt͡sijaˈlistit͡ʃka fɛdɛraˈtivna rɛˈpublika juɡɔˈsɫavija]
  • ภาษาสโลวีเนีย
    • Socialistična federativna republika Jugoslavija, ออกเสียง: [sɔt͡sjaˈlìːstit͡ʃna fɛdɛraˈtíːwna rɛˈpùːblika jugɔˈslàːʋija].

ประวัติศาสตร์ แก้

สงครามโลกครั้งที่ 2 แก้

สงครามเย็น แก้

ยุคปฏิรูป แก้

การล่มสลาย และ วิกฤติทางการเมือง แก้

การปกครอง แก้

ชื่อ
เมีองหลวง
ธง
ตราแผ่นดิน
ตำแหน่ง
สาธารณรัฐสังคมนิยมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซาราเยโว
 
 
สาธารณรัฐสังคมนิยมโครเอเชีย ซาเกร็บ
 
 
สาธารณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนีย สโกเปีย
 
 
สาธารณรัฐสังคมนิยมมอนเตเนโกร ตีโตกราด ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น พอดกอรีตซา
 
 
สาธารณรัฐสังคมนิยมเซอร์เบีย
คอซอวอ
วอยวอดีนา
เบลเกรด
พริสตีนา
นอวีซาด
 
 
สาธารณรัฐสังคมนิยมสโลวีเนีย ลูบลิยานา
 
 

มรดก แก้

 
แผนที่ลำดับการแยกตัวจากอดีตยูโกสลาเวีย

อดีตยูโกสลาเวีย เป็นคำซึ่งใช้เรียกรัฐในปัจจุบันซึ่งเกิดขึ้นภายหลังการล่มสลายของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ประเทศเหล่านี้ เรียงจากตะวันตกเฉียงเหนือไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วย

ดินแดนของอดีตยูโกสลาเวียตั้งอยู่ในพื้นที่ภูมิศาสตร์บอลข่านตะวันตก ในการจำกัดความคำดังกล่าวของสหภาพยุโรป บอลข่านตะวันตกไม่นับรวมสโลวีเนีย แต่นับรวมแอลเบเนีย สโลวีเนียเป็นประเทศซึ่งแยกตัวออกมาจากอดีตยูโกสลาเวียเพียงประเทศเดียวที่เข้าร่วมสหภาพยุโรป โครเอเชีย มาเซโดเนียและมอนเตเนโกรเป็นผู้สมัครอย่างเป็นทางการ ขณะที่เซอร์เบียได้ยื่นสมัครสมาชิกภาพและถูกจัดว่า "มีศักยภาพที่จะเป็นผู้สมัคร" บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาและสาธารณรัฐคอซอวอยังไม่ได้ยื่นสมัครสมาชิกภาพ หากอย่างไรก็ตามก็ได้รับรองว่า "มีศักยภาพที่จะเป็นผู้สมัคร" สำหรับการขยายตัวที่เป็นไปได้ในอนาคตของสหภาพยุโรป[3]

สาธารณรัฐ (ประเทศ) 1991 2011 อัตราการเจริญเติบโต
p.a. (avg)
อัตราการเจริญเติบโต
(2011 est.)
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 4,377,000 4,622,000 +0.18% +0.01%
โครเอเชีย 4,784,000 4,484,000 -0.22% -0.08%
นอร์ทมาซิโดเนีย 2,034,000 2,077,000 +0.07% +0.25%
มอนเตเนโกร 615,000 662,000 +0.25% -0.71%
เซอร์เบีย 9,778,991 7,310,000[4] -0.12% -0.47%
สโลวีเนีย 1,913,000 2,000,000 +0.15% -0.16%
รวม 23,229,846[5] 23,000,000 +0.09% N/A
ที่มา: The CIA Factbook estimates for the successor states, ข้อมูลเมื่อ กรกฎาคม 2011

ดูเพิ่ม แก้

เชิงอรรถ และ อ้างอิง แก้

เชิงอรรถ:

  1. 1.0 1.1 Benson, Leslie; Yugoslavia: a Concise History; Palgrave Macmillan, 2001 ISBN 0-333-79241-6
  2. Proclamation of Constitution of the Federative People's Republic of Yugoslavia, 31. 1. 1946. ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  3. "European Commission - Enlargement - Candidate and Potential Candidate Countries". Europa web portal. สืบค้นเมื่อ 1 August 2009.
  4. Excluding Kosovo
  5. The last Yugoslavian census in 1991.

อ้างอิง:

แหล่งข้อมูลอื่น แก้