สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน

สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซน บิน เฏาะลาล (อาหรับ: الحسين بن طلال, Al-Ḥusayn ibn Ṭalāl; อังกฤษ: Hussein of Jordan) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1935 ที่เมืองอัมมาน ประเทศจอร์แดน เป็นพระราชโอรสของ สมเด็จพระเจ้าเฏาะลาลแห่งจอร์แดนกับสมเด็จพระราชินีไซน์ อัล-ชาราฟ เฏาะลาลแห่งจอร์แดน[1]

สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน

สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน
พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน
ครองราชย์11 สิงหาคม ค.ศ. 1952– 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999 (รวม 46 ปี 7 เดือน)
รัชกาลก่อนหน้าสมเด็จพระเจ้าเฏาะลาลแห่งจอร์แดน
รัชกาลถัดไปสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 แห่งจอร์แดน
พระราชสมภพ14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1935
สวรรคต7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999
(63 พรรษา)
พระมเหสีเจ้าหญิงดีนา บินต์ อับดุลฮะมีด (2498 - หย่า 2500)
เจ้าหญิงมูนา อัลฮุซัยน์ (2504 – หย่า 2515)
สมเด็จพระราชินีอาลียาแห่งจอร์แดน (2516 – สวรรคต 2520)
สมเด็จพระราชินีนูร์แห่งจอร์แดน (2521)
สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน
ราชวงศ์ฮัชไมต์
พระบิดาสมเด็จพระเจ้าเฏาะลาลแห่งจอร์แดน
พระมารดาสมเด็จพระราชินีไซน์ อัล-ชาราฟ เฏาะลาลแห่งจอร์แดน
ศาสนาศาสนาอิสลาม
ลายพระอภิไธย

ครองราชย์ แก้

สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม ค.ศ. 1952 หลังจากสมเด็จพระราชาธิบดีฎอลาลแห่งจอร์แดน พระบิดาพระองค์สละราชสมบัติแล้ว[2]

อภิเษกสมรส แก้

สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน ทรงอภิเษกสมรสกับพระมเหสี 4 พระองค์คือ

  • เจ้าหญิงดีนา บินต์ อับดุลฮะมีด ค.ศ. 1955 หย่าเมื่อ ค.ศ. 1957[3]
  • เจ้าฟ้าหญิงมูนา อัลฮุสเซน อภิเษกสมรสเมื่อค.ศ. 1961 หย่าเมื่อ ค.ศ. 1972[4]
  • สมเด็จพระราชินีอาลียาแห่งจอร์แดน อภิเษกสมรสเมื่อ ค.ศ. 1972 สวรรคคเมื่อ ค.ศ. 1977[5]
  • สมเด็จพระราชินีนูร์แห่งจอร์แดน อภิเษกสมรสเมื่อ ค.ศ. 1978[6]

พระราชโอรสธิดา แก้

  1. เจ้าหญิงอิลา บินต์ ฮุสเซน[1]
  2. สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 แห่งจอร์แดน[7]
  3. เจ้าชายไฟซาห์ บิน ฮุสเซน
  4. เจ้าหญิงอิชฮา บินต์ ฮุสเซน
  5. เจ้าหญิงซิไน บินต์ ฮุสเซน
  6. เจ้าหญิงฮายา บินต์ ฮุสเซน
  7. เจ้าชายอาลี บิน ฮุสเซน
  8. เจ้าชายฮัมซา บิน ฮุสเซน
  9. เจ้าชายฮาชิม บิน ฮุสเซน
  10. เจ้าหญิงอิมาน บินต์ ฮุสเซน
  11. เจ้าหญิงไรยา บินต์ ฮุสเซน
  12. อาร์บี มูไฮเซน พระราชธิดาบุญธรรม ทรงอุปการะร่วมกับ สมเด็จพระราชินีอาลียาแห่งจอร์แดน พระมเหสี พระองค์ที่ 3[1]

สวรรคต แก้

สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999[8] ที่เมืองอัมมาน ประเทศจอร์แดน พระชนมายุ 63 พรรษา สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลาห์ที่ 2 แห่งจอร์แดน พระโอรสพระองค์จึงขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์จอร์แดนสืบต่อมา

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 "Biography – King Hussein bin Talal". jewishvirtuallibrary.org. สืบค้นเมื่อ 4 April 2021.
  2. "King Hussein of Jordan". The Telegraph. 8 February 1999. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2010. สืบค้นเมื่อ 1 July 2017.
  3. "Family tree on website of King Hussein of Jordan". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 April 2019. สืบค้นเมื่อ 24 April 2015.
  4. "Hussein's Ex‐Wife Is Given Her 4 Children and Palace". The New York Times. 26 December 1972. สืบค้นเมื่อ 23 February 2021.
  5. Масиель Санчес Л.; Сусленков В. (2013). Иордания (ภาษารัสเซีย). Моscow: Litres. p. 22. ISBN 5-45738-176-5.
  6. S.wren, Christopher. "Hussein Marries American And Proclaims Her Queen" (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-06-14.
  7. "Abdullah II, King of Jordan". Encyclopedia Britannica.
  8. "King Hussein dies". BBC. 7 February 1999. สืบค้นเมื่อ 5 September 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

 
Wikiquote
วิกิคำคมภาษาอังกฤษ มีคำคมที่กล่าวโดย หรือเกี่ยวกับ: สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน

การกล่าวถึงในสื่อ

ก่อนหน้า สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน ถัดไป
สมเด็จพระราชาธิบดีฎอลาลแห่งจอร์แดน    
พระมหากษัตริย์จอร์แดน
(ค.ศ. 1952 — 1999)
  สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2