สงครามประกาศอิสรภาพโครเอเชีย

สงครามโครเอเชีย หรือ สงครามประกาศอิสรภาพโครเอเชีย เป็นสงครามที่เกิดขึ้น เมื่อสมัชชาโครเอเชีย ต้องการเอกราชโครเอเชีย โดยมูลเหตุมาจากในที่ประชุมพรรคคอมมิวนิสต์ยูโกสลาเวียดุเดือดสุด ๆ สมัชชาเซอร์เบียและสมัชชาโครเอเชียโต้เถี่ยงกันในสภาโดยสมัชชาเซอร์เบียใช้อำนาจทั้งหมดขัดขวางการขึ้นมีอำนาจของประธานาธิบดียูโกสลาเวียที่มาจากชาวโครแอท ทำให้ทางสมัชชาโครเอเชียจึงเดินออกจากสภาไป ทางสมัชชาจัดการชุมนุมเรียกร้องให้ประชาชนมาชุมนุมซึ่งผลตอบรับค่อนข้างสูง ชาวโครแอทต้องการเอกราชโครเอเชีย ทำให้เกิดการปะทะกับตำรวจและผลลัพธ์จมลงด้วยสงคราม โดย นายทหารยูโกสลาเวียที่เป็นชาวโครแอทได้รวบรวมอาวุธเพื่อประกาศเอกราช ในวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1991 กองทัพยูโกสลาเวีย ยกพลบุกโครเอเชีย แม้จะได้รับการคัดค้านจะสมัชชาบอสเนีย แต่กองพลยูโกสลาเวียก็เคลือนพล ทหาร ประชาชน ชาวโครแอทที่ถูกปราบปราม ขณะที่ชาวเซิร์บในโครเอเชียก็ไก้ประกาศตั้งประเทศ สาธารณรัฐเซิร์บกรายินาซ้อนทับโครเอเชีย

สงครามประกาศเอกราชโครเอเชีย
ส่วนหนึ่งของ สงครามยูโกสลาเวีย
วันที่31 มีนาคม 1991 – 12 พฤสจิกายน 1995
สถานที่
ผล โครเอเชียชนะสงคราม
คู่สงคราม

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย กองทัพประชาชนยูโกสลาเวีย (1991-1992)

  • สมัชชาเซอร์เบีย

หลัง 5 เมษายน 1992
สาธารณรัฐเซอร์เบียกราจีนา
สาธารณรัฐเซิร์ปสกา
จังหวัดปกครองตนเองบอสเนียตะวันตก

โครเอเชีย สาธารณรัฐโครเอเชีย

  • กองทัพประชาชนโครเอเชีย
  • สมัชชาโครเอเชีย (ในสภายูโกสลาเวีย)
  • รัฐบาลโครเอเชีย
  • กองทัพปลดแอกโครเอเชีย
  • กองกำลังตำรวจโครเอเชีย

สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (ปี1995)
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย Veljko Kadijević (1991-1992)


หลัง 5 เมษายน 1992
เรปูบลิกาเซิร์ปสกา มิลาน บาบิชยอมจำนน
เรปูบลิกาเซิร์ปสกา มิลาน มาร์ติชยอมจำนน
เรปูบลิกาเซิร์ปสกา รัตโก มลาดิช
ฟิกเรต อับดิชยอมจำนน

โครเอเชีย ฟรานโย ตุดมัน
โครเอเชีย อันเต โกโทวีนา
โครเอเชีย กัย์โก ซูชัก


อาลียา อีเซ็ตเบโกวิช
อาตีฟ ดูดาโกวิช

ในวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1992 ยูโกสลาเวียล่มสลายเมื่อสมัชชาบอสเนียและสมัชชาเซอร์เบียขัดแย้งแตกคอกัน และจบลงด้วยสงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย กองทัพยูโกสลาเวียที่มาจากเซอร์เบียและบอสเนียจึงล่าถอยกลับประเทศ เหลือไว้กำลังชาวเซิร์บในโครเอเชียซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ซึ่งฝ่ายชาวเซิร์บอ่อนแอลงอ่อนแอลงทุก ๆ วัน เนื่องจากเป็นแค่กองกำลังขนาดเล็ก ๆ ขณะที่โครเอเชีย ขยายและพัฒนากองทัพ

ในช่วงปี ค.ศ. 1995 ทหารบอสเนียได้ยกพลเข้าโครเอเชียเพื่อร่วมต่อสู้กับโครเอเชียเพื่อปราบปรามกองกำลังของสาธารณรัฐเซิร์ปสกาที่มาทำสงครามในโครเอเชีย ทหารบอสเนียสามารถเอาชนะ และยึดครองจังหวัดปกครองตนเองบอสเนียตะวันตกกลับมาเป็นของบอสเนียได้อีกครั้ง รวมถึงปราบปรามกลุ่มกบฎเซิร์บบอสเนียในโครเอเชียได้

จุดจบของสงครามเกิดขึ้น ในวัน 11 พฤศจิกายน สาธารณรัฐเซิร์บกรายินา ยอมจำนน หลังจากที่เนโทโจมตี กลุ่มประเทศชาวเซิร์บไม่ว่าจะเป็น สาธารณรัฐเซอร์เบียกราจีนา , เซอร์เบียและมอนเตเนโกร , เรปูบลิกาเซิร์ปสกา

อ้างอิง แก้

  • Video on the Conflict in the Former Yugoslavia from the Dean Peter Krogh Foreign Affairs Digital Archives
  • Information and links on the Third Balkan War (1991–2001)
  • Nation, R. Craig. "War in the Balkans 1991–2002" เก็บถาวร 2009-03-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Radović, Bora, Jugoslovenski ratovi 1991–1999 i neke od njihovih društvenih posledica (PDF) (ภาษาเซอร์เบีย), RS: IAN, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04, สืบค้นเมื่อ 2015-10-02
  • Wiebes, Cees. Intelligence and the War in Bosnia 1992–1995, Publisher: Lit Verlag, 2003
  • Operation Storm ที่ยูทูบ
  • Yugoslav wars ที่เว็บไซต์ Curlie