วาทศาสตร์ คือศิลปะการจูงใจ รวมถึงไวยากรณ์และตรรกศาสตร์ (หรือวิภาษวิธี) เป็นหนึ่งในไตรศิลปศาสตร์ โดยวาทศาสตร์มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาความสามารถของผู้เขียนหรือผู้พูดในการบอก จูงใจ หรือกระตุ้นผู้ฟังในสถานการณ์เฉพาะ[1] แอริสตอเติลนิยามวาทศาสตร์ว่า "เป็นสาขาวิชาแห่งการสังเกตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อมุ่งสู่การจูงใจ" และนับแต่การเรียนรู้ศิลปะเป็นสิ่งจำเป็นต่อชัยชนะในทางกฎหมาย หรือเป็นช่องทางการนำเสนอที่เชื่อมต่อกัน หรือเพื่อทำให้ผู้พูดมีชื่อเสียงในงานพิธีการพลเมือง เขายังบอกว่า "เป็นการรวมกันของตรรกะวิทยาศาสตร์กับหลักจริยธรรมทางการเมือง"[2]

นับแต่ยุคกรีกโบราณถึงปลายศตวรรษที่ 19 วาทศาสตร์ ถือว่ามีบทบาทที่สำคัญในการศึกษาทางฝั่งตะวันตก ทั้งผู้ฝึกพูดคำปราศรัย ทนายความ นักประวัติศาสตร์ รัฐบุรุษ และนักกวี[3]

อ้างอิง แก้

  1. Corbett, E. P. J. (1990). Classical rhetoric for the modern student. New York: Oxford University Press., p. 1.; Young, R. E., Becker, A. L., & Pike, K. L. (1970). Rhetoric: discovery and change. New York,: Harcourt Brace & World. p. 1.
  2. Aristotle's Rhetoric, Book I, Chapter 2, Section 1359 (trans. W. Rhys Roberts)[https://web.archive.org/web/20080916083515/http://www.public.iastate.edu/~honeyl/Rhetoric/rhet1-4.html เก็บถาวร 16 กันยายน 2008 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน; Aristotle, Rhetoric 1.2.1, "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 เมษายน 2012. สืบค้นเมื่อ 19 ตุลาคม 2011.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  3. See, for instance Parlor, Burkean; Johnstone, Henry W. (1996). "On schiappa versus poulakos". Rhetoric Review. 14: 438–440. doi:10.1080/07350199609389075.