วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติคิวบา

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติคิวบา (สเปน: Selección femenina de fútbol de Cuba) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศคิวบา

คิวบา
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลคิวบา
สมาพันธ์นอร์เซกา
หัวหน้าผู้ฝึกสอนควน การ์โลส กาลา
อันดับเอฟไอวีบี23 (ณ 26 กันยายน 2023)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน8 (ครั้งแรกเมื่อ 1972)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1992, 1996, 2000)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน12 (ครั้งแรกเมื่อ 1970)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1978, 1994, 1998)
เวิลด์คัพ
เข้าร่วมแข่งขัน10 (ครั้งแรกเมื่อ 1973)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1989, 1991, 1995, 1999)
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติคิวบา
เหรียญรางวัล
กีฬาโอลิมปิก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1992 บาร์เซโลนา ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1996 แอตแลนตา ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2000 ซิดนีย์ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2004 เอเธนส์ ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1978 สหภาพโซเวียต ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1994 บราซิล ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1998 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1986 เชโกสโลวาเกีย ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1989 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1991 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1995 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1999 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1977 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1985 ญี่ปุ่น ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1993 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1997 ญี่ปุ่น ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1993 ฮ่องกง ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2000 มะนิลา ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1994 เซี่ยงไฮ้ ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1996 เซี่ยงไฮ้ ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1997 โคเบะ ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2008 โยะโกะฮะมะ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1995 เซี่ยงไฮ้ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1998 ฮ่องกง ทีม
แพนอเมริกันเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1971 กาลี ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1975 เม็กซิโกซิตี ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1979 ซานฮวน ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1983 การากัส ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1987 อินเดียแนโพลิส ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1991 ฮาวานา ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1995 มาร์เดลปลาตา ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2007 รีโอเดจาเนโร ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1999 วินนิเพก ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2003 ซานโตโดมิงโก ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2011 กวาดาลาฮารา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1967 วินนิเพก ทีม
อเมริกากลางและแคริบเบียนเกมส์
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2006 การ์ตาเฟนา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2014 เบรากรุซ ทีม

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติคิวบาเป็นทีมแรกที่สามารถเอาชนะทีมชาติสหภาพโซเวียตและทีมชาติญี่ปุ่นในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1978 จึงทำให้ทีมชาติคิวบาสามารถคว้าแชมป์ในรายการนี้ไปครองได้สำเร็จ

ทีมชาติหญิงของคิวบาเคยเป็นทีมอันดับ 1 ของโลกในช่วงทศวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1991– ค.ศ. 2000) นอกจากนี้ทีมชาติคิวบายังสามารถครองแชมป์ได้อีก 8 ครั้ง ได้แก่ โอลิมปิกฤดูร้อน (1992, 1996, 2000), ชิงแชมป์โลก (1994, 1988), เวิลด์คัพ (1991, 1995, 1999)

ฉายาของทีมคือ โมรานาส เดล คารีเบ

ผลงานเหรียญทองระดับโลก แก้

ปี การแข่งขัน เจ้าภาพ อันดับที่ 2 อันดับที่ 3
1978 วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1978 สหภาพโซเวียต   ญี่ปุ่น   สหภาพโซเวียต
1989 วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 1989 ญี่ปุ่น   สหภาพโซเวียต   จีน
1991 # วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 1991 ญี่ปุ่น   จีน   สหภาพโซเวียต
1992 # โอลิมปิกฤดูร้อน 1992 สเปน   ทีมรวม   สหรัฐ
1994 # วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1994 บราซิล   บราซิล   รัสเซีย
1995 # วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 1995 ญี่ปุ่น   บราซิล   จีน
1996 # โอลิมปิกฤดูร้อน 1996 สหรัฐอเมริกา   จีน   บราซิล
1998 # วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1998 ญี่ปุ่น   จีน   รัสเซีย
1999 # วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 1999 ญี่ปุ่น   รัสเซีย   บราซิล
2000 # โอลิมปิกฤดูร้อน 2000 ออสเตรเลีย   รัสเซีย   บราซิล

# – แชมป์ 8 รายการ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 (วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก, เวิลด์คัพ, กีฬาโอลิมปิก)

รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน แก้

เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง น้ำหนัก ตบ บล็อก
1. คลาวเดีย

เฮอร์นันเดซ

30 เมษายน ค.ศ. 1999 181 78 225 223
4. ไลอานนี่ ตามาโญ่ 16 มกราคม ค.ศ. 1992 178 58 295 290
7. เอวิลาเนีย มาร์ติเนซ 11 มกราคม ค.ศ. 2000 184 71 305 300
8. ไดอาริส เพเรซ(C) 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1998 182 75 304 295
11. เกรเทล โมเลโน่ 30 มกราคม ค.ศ. 1998 183 68 287 280
12. ไอลาม่า เคสซ 29 ตุลาคม ค.ศ. 2000 188 58 322 308
14. เจสซิก้า อกูยเลร่า 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1999 184 68 311 302
17. ไคตาเนีย เมดิน่า 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999 186 77 308 295
19. ลอร่า ชัวเรซ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1998 185 75 304 292
22. เอกลิ ซาบิน 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1992 187 76 315 308
23. ไดม่า เดล ริโอ 9 กันยายน ค.ศ. 2000 180 77 236 234
25. ไอวี่ เมย์ วีล่า 22 กรกฎาคม ค.ศ. 2001 181 78 235 232

รางวัล แก้

โอลิมปิกฤดูร้อน แก้

  •   1964 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   1968 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   1972 – อันดับที่ 6
  •   1976 – อันดับที่ 6
  •   1980 – อันดับที่ 6
  •   1984 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   1988 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   1992  เหรียญทอง
  •   1996  เหรียญทอง
  •   2000  เหรียญทอง
  •   2004  เหรียญทองแดง
  •   2008 – อันดับที่ 4
  •   2012 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   2016 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก แก้

  •   1952 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   1956 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   1960 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   1962 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   1967 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   1970 : อันดับที่ 8
  •   1974 : อันดับที่ 7
  •   1978 :   เหรียญทอง
  •   1982 : อันดับที่ 5
  •   1986 :   เหรียญเงิน
  •   1990 : อันดับที่ 4
  •   1994 :   เหรียญทอง
  •   1998 :   เหรียญทอง
  •   2002 : อันดับที่ 5
  •   2006 : อันดับที่ 7
  •   2010 : อันดับที่ 12
  •   2014 : อันดับที่ 21
  •   2018 : อันดับที่ 22

เวิลด์คัพ แก้

  •   1973 : อันดับที่ 5
  •   1977 :   เหรียญเงิน
  •   1981 : อันดับที่ 6
  •   1985 :   เหรียญเงิน
  •   1989 :   เหรียญทอง
  •   1991 :   เหรียญทอง
  •   1995 :   เหรียญทอง
  •   1999 :   เหรียญทอง
  •   2003 : อันดับที่ 6
  •   2007 : อันดับที่ 4
  •   2011 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  •   2015 : อันดับที่ 9

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ แก้

  •   1993 :   เหรียญทอง
  •   1994 :   เหรียญเงิน
  •   1995 :   เหรียญทองแดง
  •   1996 :   เหรียญเงิน
  •   1997 :   เหรียญเงิน
  •   1998 :   เหรียญทองแดง
  •   1999 : อันดับที่ 5
  •   2000 :   เหรียญทอง
  •   2001 : อันดับที่ 4
  •   2002 : อันดับที่ 7
  •   2003 : อันดับที่ 11
  •   2004 : อันดับที่ 4
  •   2005 : อันดับที่ 4
  •   2006 : อันดับที่ 4
  •   2007 : อันดับที่ 7
  •   2008 :   เหรียญเงิน
  •   2009 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   2010 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   2011 : อันดับที่ 11
  •   2012 : อันดับที่ 6
  •   2013 : อันดับที่ 19
  •   2014 : อันดับที่ 20
  •   2015 : อันดับที่ 25
  •   2016 : อันดับที่ 25

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ แก้

  •   1993 :   เหรียญทอง
  •   1997 :   เหรียญเงิน

แพนอเมริกันเกมส์ แก้

  •   1955 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   1959 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   1963 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   1967 :   เหรียญทองแดง
  •   1971 :   เหรียญทอง
  •   1975 :   เหรียญทอง
  •   1979 :   เหรียญทอง
  •   1983 :   เหรียญทอง
  •   1987 :   เหรียญทอง
  •   1991 :   เหรียญทอง
  •   1995 :   เหรียญทอง
  •   1999 :   เหรียญเงิน
  •   2003 :   เหรียญเงิน
  •   2007 :   เหรียญทอง
  •   2011 :   เหรียญเงิน

แพน-อเมริกันคัพ แก้

  •   2002 :   เหรียญทอง
  •   2003 :   เหรียญทองแดง
  •   2004 :   เหรียญทอง
  •   2005 :   เหรียญทอง
  •   2006 :   เหรียญเงิน
  •   2007 :   เหรียญทอง
  •   2008 : อันดับที่ 11
  •   2009 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  •   2010 : อันดับที่ 4
  •   2011 : อันดับที่ 4
  •   2012 :   เหรียญทองแดง
  •   2013 : อันดับที่ 6

ไฟนอลโฟร์คัพ แก้

  •   2008 : อันดับที่ 4
  •   2009 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  •   2010 : ไม่ผ่านการคัดเลือก

ดูเพิ่ม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้