วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ (อังกฤษ: FIVB Volleyball Men's World Cup) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลระหว่างประเทศโดยมีทีมชาติชายชุดใหญ่ร่วมเข้าแข่งในกลุ่มสมาชิกสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ (Fédération Internationale de Volleyball; FIVB) ซึ่งเป็นองค์กรกีฬาระหว่างประเทศ ในช่วงเริ่มต้นของการแข่งขันการแข่งขันได้จัดขึ้นหลังจากโอลิมปิกฤดูร้อน ยกเว้นในปี ค.ศ. 1973 เนื่องจากไม่มีการจัดการแข่งขันขึ้น แต่ตั้งแต่ปีใน ค.ศ. 1991 เวิลด์คัพได้มีการจัดแข่งขันขึ้นก่อนกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนโดย 2 ทีมที่ดีที่สุดจะได้รับสิทธิ์เข้าแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ทีมชนะเลิศการแข่งขันครั้งล่าสุดคือทีมชาติสหรัฐ ซึ่งชนะเลิศเป็นสมัยที่ 2 ในการแข่งขันปี ค.ศ. 2015

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ
การแข่งขันหรือฤดูกาลครั้งต่อไป:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 2023
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้ง1965; 59 ปีที่แล้ว (1965)
ฤดูกาลแรก1965
ซีอีโอบราซิล อารี กราซา
จำนวนทีม12 ทีม
ทวีประหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติบราซิล บราซิล
(3 สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต
(4 สมัย)
หุ้นส่วนสตรีมมิงVolleyball TV (ตั้งแต่ 2019)

ในการแข่งขันเวิลด์คัพ 14 ครั้ง มีชาติที่ชนะในการแข่งขัน 6 ชาติ ทีมชาติรัสเซียชนะ 6 ครั้ง (4 ครั้ง ในฐานะสหภาพโซเวียต) และทีมชาติอื่นที่ชนะการแข่งขันคือทีมชาติบราซิล และทีมชาติสหรัฐ ชนะ 2 ครั้ง; และทีมชาติคิวบา ทีมชาติอิตาลี และทีมชาติเยอรมนี (ในฐานะ ทีมชาติเยอรมนีตะวันออก) ชนะ 1 ครั้ง

การแข่งขันนี้ไม่ควรจะสับสนกับวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก

สรุปผลการแข่งขัน แก้

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ทีมชนะเลิศ คะแนน ทีมรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่ 3 คะแนน ทีมอันดับที่ 4
1965
รายละเอียด
 
โปแลนด์
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด  
ญี่ปุ่น
11
1969
รายละเอียด
 
เยอรมนีตะวันออก
 
เยอรมนีตะวันออก
พบกันหมด  
ญี่ปุ่น
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
บัลแกเรีย
11
1977
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
ญี่ปุ่น
 
คิวบา
พบกันหมด  
โปแลนด์
12
1981
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
คิวบา
 
บราซิล
พบกันหมด  
โปแลนด์
8
1985
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
สหรัฐ
พบกันหมด  
สหภาพโซเวียต
 
เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด  
บราซิล
8
1989
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
คิวบา
พบกันหมด  
อิตาลี
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
สหรัฐ
8
1991
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
คิวบา
 
สหรัฐ
พบกันหมด  
ญี่ปุ่น
12
1995
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
อิตาลี
พบกันหมด  
เนเธอร์แลนด์
 
บราซิล
พบกันหมด  
สหรัฐ
12
1999
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
รัสเซีย
พบกันหมด  
คิวบา
 
อิตาลี
พบกันหมด  
สหรัฐ
12
2003
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
บราซิล
พบกันหมด  
อิตาลี
 
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
พบกันหมด  
สหรัฐ
12
2007
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
บราซิล
พบกันหมด  
รัสเซีย
 
บัลแกเรีย
พบกันหมด  
สหรัฐ
12
2011
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
รัสเซีย
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
บราซิล
พบกันหมด  
อิตาลี
12
2015
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
สหรัฐ
พบกันหมด  
อิตาลี
 
โปแลนด์
พบกันหมด  
รัสเซีย
12
2019
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
บราซิล
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
สหรัฐ
พบกันหมด  
ญี่ปุ่น
12
2023
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
[จะถูกกำหนด] พบกันหมด [จะถูกกำหนด] [จะถูกกำหนด] พบกันหมด [จะถูกกำหนด] 8

สรุปเหรียญรางวัล แก้

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  สหภาพโซเวียต4127
2  บราซิล3036
3  รัสเซีย2103
4  สหรัฐ2024
5  คิวบา1315
  อิตาลี1315
7  เยอรมนีตะวันออก1001
8  โปแลนด์0314
9  ญี่ปุ่น0202
10  เนเธอร์แลนด์0101
11  เชโกสโลวาเกีย0022
12  บัลแกเรีย0011
  เซอร์เบียและมอนเตเนโกร0011
รวม (13 ประเทศ)14141442

ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน แก้

สัญลักษณ์
  •  1st  – ชนะเลิศ
  •  2nd  – รองชนะเลิศ
  •  3rd  – อันดับที่ 3
  •  4th  – อันดับที่ 4
  •  •  – ไม่ได้เข้าแข่งขัน / ไม่ได้ผ่านการคัดเลือก
  •    – เจ้าภาพ
  • = – More than one team tied for that rank
  • Q – Qualified for forthcoming tournament
ทีม[1]  
1965
(11)
 
1969
(12)
 
1977
(12)
 
1981
(8)
 
1985
(8)
 
1989
(8)
 
1991
(12)
 
1995
(12)
 
1999
(12)
 
2003
(12)
 
2007
(12)
 
2011
(12)
 
2015
(12)
 
2019
(12)
 
2023
(8)
รวม
  แอลจีเรีย 9th 1
  อาร์เจนตินา 5th 7th 9th 7th 7th 5th 5th 7
  ออสเตรเลีย 8th 9th 11th 3
  บราซิล 6th 8th 3rd 4th 5th 6th 3rd 5th 1st 1st 3rd 1st 12
  บัลแกเรีย 9th 4th 6th 3rd 4
  แคเมอรูน 8th 1
  แคนาดา 12th 10th 8th 7th 7th 9th 6
  ชิลี 12th 1
  จีน 5th 5th 9th 11th 10th 11th 6
  คิวบา 9th 3rd 2nd 1st 2nd 6th 2nd 5th 8
  อียิปต์ 11th 8th 11th 12th 10th 12th 10th 10th 8
  ฝรั่งเศส 11th 5th 2
  เยอรมนี ดูที่   เยอรมนีตะวันออก
และ   เยอรมนีตะวันตก
7th 1
  ฮังการี 7th 1
  อิหร่าน 11th 9th 8th 8th 4
  อิตาลี 7th 2nd 1st 3rd 2nd 4th 2nd 7th 8
  ญี่ปุ่น 4th 2nd 2nd 6th 6th 6th 4th 5th 10th 9th 9th 10th 6th 4th Q 15
  เม็กซิโก 9th 10th 2
  เนเธอร์แลนด์ 10th 2nd 2
  โปแลนด์ 2nd 8th 4th 4th 2nd 3rd 2nd 7
  ปวยร์โตรีโก 6th 1
  โรมาเนีย 6th 7th 2
  รัสเซีย ส่วนหนึ่งของ   สหภาพโซเวียต 1st 2nd 1st 4th 6th DQ 5
  เซอร์เบีย ส่วนหนึ่งของ   ยูโกสลาเวีย ส่วนของ   FRY /   SCG 8th 1
  เกาหลีใต้ 7th 7th 7th 5th 8th 7th 6th 11th 8
  สเปน 6th 5th 2
  ตูนิเซีย 11th 8th 8th 12th 12th 11th 12th 12th 12th 9
  สหรัฐ 10th 1st 4th 3rd 4th 4th 4th 4th 6th 1st 3rd 11
  เวเนซุเอลา 8th 11th 2
Discontinued nations
  เชโกสโลวาเกีย 3rd 5th 3rd ดูที่   เช็กเกีย และ   สโลวาเกีย 3
  เยอรมนีตะวันออก 5th 1st ดูที่   เยอรมนี 2
  ยูโกสลาเวีย /
  เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
ส่วนหนึ่งของ   ยูโกสลาเวีย 3rd ดูที่   เซอร์เบีย
และ   มอนเตเนโกร
1
  สหภาพโซเวียต 1st 3rd 1st 1st 2nd 3rd 1st ดูที่   รัสเซีย และอื่น ๆ 7
  เยอรมนีตะวันตก 10th ดูที่   เยอรมนี 1
  ยูโกสลาเวีย 8th ดูที่  FRY/  SCG/อื่น ๆ ดูที่   เซอร์เบีย และอื่น ๆ 1

หมายเหตุ แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "FIVB Volleyball Men's World Cup 2011". fivb.org. สืบค้นเมื่อ 2016-08-25.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้