วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2022

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2022 (อังกฤษ: 2022 FIVB Volleyball Men's World Championship) จะเป็นการแข่งขันครั้งที่ 20 ของวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก ซึ่งเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลโดยมีทีมชาติชายชุดใหญ่ที่เป็นสมาชิกของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นองค์กรกีฬาระหว่างประเทศ การแข่งขันรอบสุดท้ายจะจัดขึ้นที่ประเทศโปแลนด์และประเทศสโลวีเนีย ระหว่างวันที่ 26 สิงหาคม ถึง 11 กันยายน ค.ศ. 2022 เดิมมีกำหนดจะจัดขึ้นในประเทศรัสเซีย ระหว่างวันที่ 26 สิงหาคมถึง 11 กันยายน ค.ศ. 2022 เนื่องจากการรุกรานยูเครนของรัสเซีย ตั้งแต่วันที่ 24 กุมภาพันธ์ รัสเซียจึงถูกตัดสิทธิ์ในการเข้าร่วมการแข่งขันระดับนานาชาติและการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2022
Mistrzostwa Świata w Piłce Siatkowej Mężczyzn 2022
Svetovno prvenstvo v odbojki 2022
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
ธงของประเทศสโลวีเนีย สโลวีเนีย
เมืองกลิวิซ
กาตอวิตแซ
ลูบลิยานา
วันที่26 สิงหาคม – 11 กันยายน
ทีม24 (จาก 5 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 3 เมืองเจ้าภาพ)
ประธานพิธีเปิดอันด์แชย์ ดูดา และ โบรุต ปาฮอร์
ชนะเลิศธงชาติอิตาลี อิตาลี (สมัยที่ 4)
รองชนะเลิศธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์
อันดับที่ 3ธงชาติบราซิล บราซิล
อันดับที่ 4ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย
รางวัล
ผู้เล่นทรงคุณค่าอิตาลี ซีโมเน จันเนลลี
ตัวเซ็ตยอดเยี่ยมอิตาลี ซีโมเน จันเนลลี
ตัวตบหัวเสายอดเยี่ยมบราซิล โยอังดี เลอัล
โปแลนด์ กามิล แซแมญุก
ตัวบล็อกกลางยอดเยี่ยมโปแลนด์ มาแตอุช บีแยแญก
อิตาลี จันลูกา กาลัสซี
ตัวตบตรงข้ามยอดเยี่ยมโปแลนด์ บาร์ตอช กูแร็ก
ตัวรับอิสระยอดเยี่ยมอิตาลี ฟาบีโอ บาลาโซ
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน52
ผู้ชม194,612 (3,743 คนต่อนัด)
ผู้ทำคะแนนสูงสุดบราซิล โยอังดี เลอัล (125 คะแนน)
ตัวตบหัวเสายอดเยี่ยมบราซิล โยอังดี เลอัล (52.71%)
ตัวบล็อกยอดเยี่ยมอาร์เจนตินา อากุสติน โลเซร์ (3.40 Avg)
เสิร์ฟยอดเยี่ยมยูเครน ออแลฮ์ ปลอตนึตสกึย (3.60 Avg)
ตัวเซ็ตยอดเยี่ยมอิตาลี ซีโมเน จันเนลลี (19.86 Avg)
รับบอลตบยอดเยี่ยมบราซิล ตาลิส โฮสส์ (8.43 Avg)
รับบอลเสิร์ฟยอดเยี่ยมอาร์เจนตินา ซานตีอาโก ดานานี (27.86%)
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
2022 Volleyball World Championship

การคัดเลือกเจ้าภาพ แก้

เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018 สหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศได้ประกาศว่าการแข่งขันจะจัดขึ้นที่ประเทศรัสเซีย ซึ่งเป็นครั้งแรกที่จัดขึ้นในประเทศรัสเซีย[1] โดยจะจัดขึ้นในสิบเมืองทั่วประเทศรัสเซีย (มอสโก, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, คาลีนินกราด, ยาโรสลัฟล์, คาซาน, อูฟา, เยคาเตรินบุร์ก, โนโวซีบีสค์, เคเมโรโวและครัสโนยาสค์)[2][3]

ในวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 2019 องค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก (WADA) ได้สั่งห้ามรัสเซียแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติทุกประเภทเป็นเวลา 4 ปีหลังจากพบว่าองค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามรัสเซีย ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดในการส่งมอบข้อมูลห้องปฏิบัติการให้กับผู้ตรวจสอบ การพิจารณาคดีของวาดาอนุญาตให้นักกีฬาที่ไม่เกี่ยวข้องกับการใช้สารกระตุ้นยังคงสามารถเข้าร่วมการแข่งขันได้ แต่ห้ามใช้ธงชาติและเพลงชาติรัสเซียในการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติที่สำคัญ[4] อย่างไรก็ตามทีมชาติรัสเซียยังคงสามารถผ่านการคัดเลือกได้เนื่องจากการลงโทษจะมีผลเฉพาะการแข่งขันรอบสุดท้ายของชิงแชมป์โลกเท่านั้น รัสเซียได้ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลอนุญาโตตุลาการกีฬาโลก (CAS)[5] ต่อการตัดสินของวาดา เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 2020 ศาลอนุญาโตตุลาการกีฬาโลกได้ลดโทษแบนจากสี่ปีเป็นสองปี ซึ่งจะสิ้นสุดในวันที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 2022[6] รัสเซียมีกำหนดจะแข่งขันในชื่อ วีเอฟอาร์ (VFR) หรือ สหพันธ์วอลเลย์บอลรัสเซีย[6][7]

ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022 การรุกรานยูเครนของรัสเซียนำไปสู่การเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงประเทศเจ้าภาพ อย่างไรก็ตามเอฟไอวีบีเชื่อว่ากีฬาควรแยกออกจากการเมืองและยังยืนให้ประเทศรัสเซียจัดชิงแชมป์โลกต่อไปได้ [8] โดยทีมชาติโปแลนด์ ฝรั่งเศส สโลวีเนีย และเนเธอร์แลนด์ ได้ประกาศว่าจะปฏิเสธที่จะเข้าร่วมแข่งขันในประเทศรัสเซีย[9] ต่อมาในวันที่ 1 มีนาคม เอฟไอวีบีได้ออกแถลงการณ์ว่าจะยกเลิกการเป็นเจ้าภาพในรัสเซีย[10] และได้ตัดสิทธิ์ทีมชาติรัสเซียและทีมชาติเบลารุสในการเข้าร่วมการแข่งขันระดับนานาชาติจนกว่าจะมีการออกประกาศใหม่[11] เมื่อวันที่ 7 มีนาคม เอฟไอวีบีประกาศว่าได้เปิดการคัดเลือกประเทศเจ้าภาพใหม่แล้ว[12]

เมื่อวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 2022 เอฟไอวีบีประกาศได้ว่าประเทศโปแลนด์และประเทศสโลวีเนียจะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันชิงแชมป์โลกชายปี 2022[13]

รอบคัดเลือก แก้

การคัดเลือกในครั้งนี้จะมี 24 ทีมที่ผ่านเข้ารอบคัดเลือก สำหรับประเทศรัสเซียในฐานะประเทศเจ้าภาพจะผ่านเข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ เช่นเดียวกับประเทศโปแลนด์ในฐานะแชมป์โลกปัจจุบัน ส่วนที่เหลืออีก 22 ทีมมาจากทีมชนะเลิศและรองชนะเลิศจากการแข่งขันชิงแชมป์ทวีปปี 2021 ทั้งหมด 10 ทีม และ 12 ทีมจากการจัดอันดับโลกของเอฟไอวีบี สำหรับทีมที่ยังไม่ผ่านการคัดเลือก[14]

ทีมที่ผ่านการคัดเลือก แก้

วิธีการของการคัดเลือก วันที่ สถานที่ จำนวน ประเทศที่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศเจ้าภาพ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018   เม็กซิโก 1   วีเอฟอาร์
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2018 30 กันยายน ค.ศ. 2018   อิตาลี /   บัลแกเรีย 1   โปแลนด์
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชีย 2021 12–19 กันยายน ค.ศ. 2021   ชิบะ / ฟูนาบาชิ 2   อิหร่าน
  ญี่ปุ่น
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2021 10–20 กันยายน ค.ศ. 2021   คิกาลี 2   ตูนิเซีย
  แคเมอรูน
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2021 1–19 กันยายน ค.ศ. 2021   โปแลนด์ /   เช็กเกีย
  เอสโตเนีย /   ฟินแลนด์
2   อิตาลี
  สโลวีเนีย
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์อเมริกาใต้ 2021 1–5 กันยายน ค.ศ. 2021   บราซีเลีย 2   บราซิล
  อาร์เจนตินา
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์นอร์เซกา 2021 18–23 สิงหาคม ค.ศ. 2021   ดูรังโกซิตี 2   ปวยร์โตรีโก
  แคนาดา
อันดับโลกเอฟไอวีบี เดือนธันวาคม ค.ศ. 2021   สวิตเซอร์แลนด์ 12   ฝรั่งเศส
  สหรัฐ
  เซอร์เบีย
  คิวบา
  เนเธอร์แลนด์
  เยอรมนี
  เม็กซิโก
  ตุรกี
  อียิปต์
  กาตาร์
  บัลแกเรีย
  จีน
15 เมษายน ค.ศ. 2021 1   ยูเครน*

สนามการแข่งขัน แก้

กลุ่มเอ, ซี และรอบสุดท้าย รอบสุดท้าย
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2022 (ประเทศโปแลนด์)
  กาตอวิตแซ, โปแลนด์   กลีวิตเซ, โปแลนด์
Spodek Gliwice Arena
ความจุ: 11,036 ความจุ: 13,752
   
กลุ่มบี, ดี, อี, เอฟ และรอบสุดท้าย
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2022 (Slovenia)
  ลูบลิยานา สโลวีเนีย
Arena Stožice
ความจุ: 12,480
 

การแบ่งกลุ่ม แก้

รอบแรก แก้

ทีมที่เข้าร่วมทั้ง 24 ทีมจะถูกแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม โดยสหพันธ์ให้สิทธิ์เจ้าภาพอยู่ในกลุ่มเอ ทีมอันดับที่ 1 ถึง 5 จากอันดับโลกเอฟไอวีบี ณ วันที่ 20 กันยายน ค.ศ. 2021 ได้ถูกวางให้อยู่ในแถวแรกของกลุ่มบีถึงกลุ่มเอฟตามลำดับ ทีมที่เหลือจะแบ่งออกเป็น 3 โถเพื่อจับสลากตามอันดับโลกเอฟไอวีบีของแต่ละทีม เมืองเจ้าภาพในรอบแรกกำหนดโดยการจับสลากเช่นกัน[15] การจับสลากแบ่งกลุ่มจัดขึ้นที่มอสโก ประเทศรัสเซีย ในวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 2021[16] ตัวเลขในวงเล็บเป็นอันดับโลก

ทีมวาง โถ 1 โถ 2 โถ 3

  วีเอฟอาร์ (เจ้าภาพ)
  บราซิล (1)
  โปแลนด์ (2)
  ฝรั่งเศส (4)
  อิตาลี (5)
  อาร์เจนตินา (6)

  สหรัฐ (7)
  สโลวีเนีย (8)
  เซอร์เบีย (9)
  อิหร่าน (10)
  ญี่ปุ่น (11)
  แคนาดา (12)

  คิวบา (13)
  ตูนิเซีย (14)
  เนเธอร์แลนด์ (15)
  เยอรมนี (16)
  เม็กซิโก (17)
  ตุรกี (18)

  อียิปต์ (19)
  กาตาร์ (20)
  บัลแกเรีย (21)
  จีน (22)
  ปวยร์โตรีโก (24)
  แคเมอรูน (25)

ผลการจับสลาก
กลุ่มเอ กลุ่มบี กลุ่มซี กลุ่มดี กลุ่มอี กลุ่มเอฟ
  ยูเครน   บราซิล   โปแลนด์   ฝรั่งเศส   อิตาลี   อาร์เจนตินา
  เซอร์เบีย   ญี่ปุ่น   สหรัฐ   สโลวีเนีย   แคนาดา   อิหร่าน
  ตูนิเซีย   คิวบา   เม็กซิโก   เยอรมนี   ตุรกี   เนเธอร์แลนด์
  ปวยร์โตรีโก   กาตาร์   บัลแกเรีย   แคเมอรูน   จีน   อียิปต์

รอบแรก แก้

  • เวลาในตารางการแข่งขันเป็นเวลาท้องถิ่น (UTC+02:00)
  • สองอันดับแรกของแต่ละกลุ่มและสี่อันดับแรกของทีมที่ได้อันดับสามจะผ่านเข้าสู่รอบสุดท้าย
ผ่านเข้าสู่รอบสุดท้าย

กลุ่มเอ แก้

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1   เซอร์เบีย 3 0 9 9 0 MAX 233 187 1.246
2   ยูเครน 2 1 6 6 4 1.500 241 211 1.142
3   ตูนิเซีย 1 2 3 3 6 0.500 189 210 0.900
4   ปวยร์โตรีโก 0 3 0 1 9 0.111 197 250 0.788
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
27 ส.ค. 17:30 ตูนิเซีย   3–0   ปวยร์โตรีโก 25–19 25–17 25–20     75–56 P2 รายงาน
27 ส.ค. 20:30 ยูเครน   0–3   เซอร์เบีย 26–28 21–25 20–25     67–78 P2 รายงาน
29 ส.ค. 17:30 เซอร์เบีย   3–0   ปวยร์โตรีโก 26–24 25–21 25–16     76–61 P2 รายงาน
29 ส.ค. 20:30 ยูเครน   3–0   ตูนิเซีย 25–21 25–19 25–15     75–55 P2 รายงาน
31 ส.ค. 17:30 เซอร์เบีย   3–0   ตูนิเซีย 29–27 25–15 25–17     79–59 P2 รายงาน
31 ส.ค. 20:30 ยูเครน   3–1   ปวยร์โตรีโก 24–26 25–19 25–16 25–19   99–80 P2 รายงาน

กลุ่มบี แก้

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1   บราซิล 3 0 8 9 2 4.500 271 222 1.221
2   ญี่ปุ่น 2 1 6 6 4 1.500 226 205 1.102
3   คิวบา 1 2 4 6 7 0.857 281 302 0.930
4   กาตาร์ 0 3 0 1 9 0.111 199 248 0.802
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
26 ส.ค. 11:00 บราซิล   3–2   คิวบา 31–33 21–25 25–16 25–17 18–16 120–107 P2 รายงาน
26 ส.ค. 14:00 ญี่ปุ่น   3–0   กาตาร์ 25–20 25–18 25–15     75–53 P2 รายงาน
28 ส.ค. 11:00 คิวบา   3–1   กาตาร์ 25–21 25–21 22–25 25–19   97–86 P2 รายงาน
28 ส.ค. 14:00 บราซิล   3–0   ญี่ปุ่น 25–21 25–18 25–16     75–55 P2 รายงาน
30 ส.ค. 11:00 บราซิล   3–0   กาตาร์ 25–13 25–23 26–24     76–60 P2 รายงาน
30 ส.ค. 14:00 ญี่ปุ่น   3–1   คิวบา 25–18 21–25 25–15 25–19   96–77 P2 รายงาน

กลุ่มซี แก้

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1   โปแลนด์ 3 0 9 9 1 9.000 248 188 1.319
2   สหรัฐ 2 1 6 7 3 2.333 237 215 1.102
3   เม็กซิโก 1 2 2 3 8 0.375 211 259 0.815
4   บัลแกเรีย 0 3 1 2 9 0.222 228 262 0.870
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
26 ส.ค. 17:30 สหรัฐ   3–0   เม็กซิโก 25–18 25–20 25–12     75–50 P2 รายงาน
26 ส.ค. 20:30 โปแลนด์   3–0   บัลแกเรีย 25–12 25–20 25–20     75–52 P2 รายงาน
28 ส.ค. 17:30 สหรัฐ   3–0   บัลแกเรีย 25–20 25–23 26–24     76–67 P2 รายงาน
28 ส.ค. 20:30 เม็กซิโก   0–3   โปแลนด์ 17–25 14–25 19–25     50–75 P2 รายงาน
30 ส.ค. 17:30 บัลแกเรีย   2–3   เม็กซิโก 20–25 25–20 25–23 23–25 18–16 111–109 P2 รายงาน
30 ส.ค. 20:30 โปแลนด์   3–1   สหรัฐ 23–25 25–21 25–19 25–21   98–86 P2 รายงาน

กลุ่มดี แก้

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1   ฝรั่งเศส 3 0 8 9 2 4.500 273 242 1.128
2   สโลวีเนีย 2 1 7 8 3 2.667 260 237 1.097
3   เยอรมนี 1 2 3 3 6 0.500 207 215 0.963
4   แคเมอรูน 0 3 0 0 9 0.000 184 230 0.800
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
26 ส.ค. 17:30 ฝรั่งเศส   3–0   เยอรมนี 25–22 28–26 26–24     79–72 P2 รายงาน
26 ส.ค. 20:30 สโลวีเนีย   3–0   แคเมอรูน 25–19 25–23 25–21     75–63 P2 รายงาน
28 ส.ค. 17:30 เยอรมนี   3–0   แคเมอรูน 30–28 25–14 25–19     80–61 P2 รายงาน
28 ส.ค. 20:30 ฝรั่งเศส   3–2   สโลวีเนีย 25–21 22–25 23–25 34–32 15–7 119–110 P2 รายงาน
30 ส.ค. 17:30 ฝรั่งเศส   3–0   แคเมอรูน 25–19 25–19 25–22     75–60 P2 รายงาน
30 ส.ค. 20:30 สโลวีเนีย   3–0   เยอรมนี 25–16 25–22 25–17     75–55 P2 รายงาน

กลุ่มอี แก้

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1   อิตาลี 3 0 9 9 0 MAX 239 166 1.440
2   ตุรกี 2 1 6 6 3 2.000 210 186 1.129
3   แคนาดา 1 2 3 3 6 0.500 206 231 0.892
4   จีน 0 1 0 0 3 0.000 153 225 0.680
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
27 ส.ค. 11:00 ตุรกี   3–0   จีน 25–15 25–19 25–14     75–48 P2 รายงาน
27 ส.ค. 21:15 อิตาลี   3–0   แคนาดา 25–13 25–18 39–37     89–68 P2 รายงาน
29 ส.ค. 11:00 แคนาดา   3–0   จีน 25–23 25–21 25–23     75–67 P2 รายงาน
29 ส.ค. 21:15 อิตาลี   3–0   ตุรกี 25–18 25–20 25–22     75–60 P2 รายงาน
31 ส.ค. 14:00 แคนาดา   0–3   ตุรกี 23–25 23–25 17–25     63–75 P2 รายงาน
31 ส.ค. 21:15 อิตาลี   3–0   จีน 25–14 25–10 25–14     75–38 P2 รายงาน

กลุ่มเอฟ แก้

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1   เนเธอร์แลนด์ 3 0 8 9 3 3.000 286 250 1.144
2   อิหร่าน 2 1 5 7 6 1.167 313 302 1.036
3   อาร์เจนตินา 1 2 4 7 8 0.875 351 347 1.012
4   อียิปต์ 0 3 1 3 9 0.333 239 290 0.824
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
27 ส.ค. 14:00 เนเธอร์แลนด์   3–0   อียิปต์ 25–17 25–22 25–16     75–55 P2 รายงาน
27 ส.ค. 17:30 อาร์เจนตินา   2–3   อิหร่าน 25–22 28–30 18–25 34–32 19–21 124–130 P2 รายงาน
29 ส.ค. 14:00 อาร์เจนตินา   2–3   เนเธอร์แลนด์ 30–28 25–20 21–25 25–27 9–15 110–115 P2 รายงาน
29 ส.ค. 17:30 อิหร่าน   3–1   อียิปต์ 25–14 25–19 22–25 26–24   98–82 P2 รายงาน
31 ส.ค. 11:00 อาร์เจนตินา   3–2   อียิปต์ 27–25 26–28 24–26 25–17 15–6 117–102 P2 รายงาน
31 ส.ค. 17:30 อิหร่าน   1–3   เนเธอร์แลนด์ 22–25 25–21 20–25 18–25   85–96 P2 รายงาน

ตารางคะแนนรวม แก้

ตารางคะแนนรวมนี้ใช้เพื่อจัดอันดับ 24 ทีมที่เข้าร่วมแข่งขันตามคะแนนและนัดที่ชนะ โดย 16 ทีมที่ดีที่สุดจะผ่านเข้ารอบสุดท้าย

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1   อิตาลี 3 0 9 9 0 MAX 239 166 1.440
2   เซอร์เบีย 3 0 9 9 0 MAX 233 187 1.246
3   โปแลนด์ 3 0 9 9 1 9.000 248 189 1.312
4   บราซิล 3 0 8 9 2 4.500 271 222 1.221
5   ฝรั่งเศส 3 0 8 9 2 4.500 273 242 1.128
6   เนเธอร์แลนด์ 3 0 8 9 3 3.000 286 250 1.144
7   สโลวีเนีย 2 1 7 8 3 2.667 260 237 1.097
8   สหรัฐ 2 1 6 7 3 2.333 238 215 1.107
9   ตุรกี 2 1 6 6 3 2.000 210 186 1.129
10   ยูเครน 2 1 6 6 4 1.500 241 213 1.131
11   ญี่ปุ่น 2 1 6 6 4 1.500 226 205 1.102
12   อิหร่าน 2 1 5 7 6 1.167 313 302 1.036
13   อาร์เจนตินา 1 2 4 7 8 0.875 351 347 1.012
14   คิวบา 1 2 4 6 7 0.857 281 302 0.930
15   เยอรมนี 1 2 3 3 6 0.500 207 215 0.963
16   ตูนิเซีย 1 2 3 3 6 0.500 189 210 0.900
17   แคนาดา 1 2 3 3 6 0.500 206 231 0.892
18   เม็กซิโก 1 2 2 3 8 0.375 211 259 0.815
19   อียิปต์ 0 3 1 3 9 0.333 137 173 0.792
20   บัลแกเรีย 0 3 1 2 9 0.222 230 262 0.878
21   กาตาร์ 0 3 0 1 9 0.111 199 248 0.802
22   ปวยร์โตรีโก 0 3 0 1 9 0.111 197 250 0.788
23   แคเมอรูน 0 3 0 0 9 0.000 184 230 0.800
24   จีน 0 3 0 0 9 0.000 115 150 0.767

ที่มา: WCH 2022 Standings

รอบสุดท้าย แก้

 
รอบ 16 ทีมสุดท้ายรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
              
 
4 กันยายน – กลีวิตแซ
 
 
  โปแลนด์3
 
8 กันยายน – กลีวิตแซ
 
  ตูนิเซีย0
 
  โปแลนด์3
 
4 กันยายน – กลีวิตแซ
 
  สหรัฐ2
 
  สหรัฐ3
 
10 กันยายน – กาตอวิตแซ
 
  ตุรกี2
 
  โปแลนด์3
 
6 กันยายน – กลีวิตแซ
 
  บราซิล2
 
  เซอร์เบีย0
 
8 กันยายน – กลีวิตแซ
 
  อาร์เจนตินา3
 
  อาร์เจนตินา1
 
6 กันยายน – กลีวิตแซ
 
  บราซิล3
 
  บราซิล3
 
11 กันยายน – กาตอวิตแซ
 
  อิหร่าน0
 
  โปแลนด์1
 
3 กันยายน – ลูบลิยานา
 
  อิตาลี3
 
  สโลวีเนีย3
 
7 กันยายน – ลูบลิยานา
 
  เยอรมนี1
 
  สโลวีเนีย3
 
5 กันยายน – ลูบลิยานา
 
  ยูเครน1
 
  เนเธอร์แลนด์0
 
10 กันยายน – กาตอวิตแซ
 
  ยูเครน3
 
  สโลวีเนีย0
 
3 กันยายน – ลูบลิยานา
 
  อิตาลี3 รอบชิงอันดับที่ 3
 
  อิตาลี3
 
7 กันยายน – ลูบลิยานา11 กันยายน – กาตอวิตแซ
 
  คิวบา1
 
  อิตาลี3  บราซิล3
 
5 กันยายน – ลูบลิยานา
 
  ฝรั่งเศส2   สโลวีเนีย1
 
  ฝรั่งเศส3
 
 
  ญี่ปุ่น2
 

รอบ 16 ทีมสุดท้าย แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
3 ก.ย. 17:30 สโลวีเนีย   3–1   เยอรมนี 25–18 25–19 21–25 25–22   96–84 P2 รายงาน
3 ก.ย. 21:15 อิตาลี   3–1   คิวบา 25–21 21–25 26–24 25–18   97–88 P2 รายงาน
4 ก.ย. 17:30 สหรัฐ   3–2   ตุรกี 25–21 25–17 22–25 19–25 15–12 106–100 P2 รายงาน
4 ก.ย. 21:00 โปแลนด์   3–0   ตูนิเซีย 25–20 25–15 25–20     75–55 P2 รายงาน
5 ก.ย. 17:30 เนเธอร์แลนด์   0–3   ยูเครน 16–25 19–25 18–25     53–75 P2 รายงาน
5 ก.ย. 21:00 ฝรั่งเศส   3–2   ญี่ปุ่น 25–17 21–25 26–24 22–25 18–16 112–107 P2 รายงาน
6 ก.ย. 17:30 เซอร์เบีย   0–3   อาร์เจนตินา 23–25 21–25 23–25     67–75 P2 รายงาน
6 ก.ย. 21:00 บราซิล   3–0   อิหร่าน 25–17 25–22 25–23     75–62 P2 รายงาน

รอบก่อนรองชนะเลิศ แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
7 ก.ย. 17:30 อิตาลี   3–2   ฝรั่งเศส 24–26 25–21 23–25 25–22 15–11 112–105 P2 รายงาน
7 ก.ย. 21:00 สโลวีเนีย   3–1   ยูเครน 18–25 26–24 25–19 25–23   94–91 P2 รายงาน
8 ก.ย. 17:30 อาร์เจนตินา   1–3   บราซิล 16–25 25–23 22–25 21–25   84–98 P2 รายงาน
8 ก.ย. 21:00 โปแลนด์   3–2   สหรัฐ 25–20 27–25 21–25 22–25 15–12 110–107 P2 รายงาน

รอบรองชนะเลิศ แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
10 ก.ย. 18:00 โปแลนด์   3–2   บราซิล 23–25 25–18 25–20 21–25 15–12 109–100 P2 รายงาน
10 ก.ย. 21:00 อิตาลี   3–0   สโลวีเนีย 25–21 25–22 25–21     75–64 P2 รายงาน

รอบชิงอันดับที่ 3 แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
11 ก.ย. 18:00 บราซิล   3–1   สโลวีเนีย 25–18 25–18 22–25 25–18   97–79 P2 รายงาน

รอบชิงชนะเลิศ แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
11 ก.ย. 21:00 โปแลนด์   1–3   อิตาลี 25–22 21–25 18–25 20–25   84–97 P2 รายงาน

อันดับการแข่งขัน แก้

รางวัล แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "Russia selected as host for 2022 FIVB Volleyball Men's World Championship". FIVB. 15 November 2018. สืบค้นเมื่อ 12 June 2019.
  2. "FIVB announces dates and host cities for Men's Volleyball World Championship 2022 in Russia". FIVB. 28 May 2019. สืบค้นเมื่อ 12 June 2019.
  3. "FIVB announces final two host cities for Volleyball Men's World Championship Russia 2022". FIVB. 1 August 2019. สืบค้นเมื่อ 2 August 2019.
  4. "Russia banned for four years to include 2020 Olympics and 2022 World Cup". BBC. 9 December 2019. สืบค้นเมื่อ 9 December 2019.
  5. "WADA files official request with Court of Arbitration for Sport to resolve RUSADA dispute". WADA. 9 January 2020. สืบค้นเมื่อ 20 December 2020.
  6. 6.0 6.1 "Russia banned from Tokyo Olympics and 2022 World Cup after Cas ruling". BBC. 17 December 2020. สืบค้นเมื่อ 20 December 2020.
  7. "Russia banned from using its name, flag at next two Olympics". ESPN. AP. 17 December 2020. สืบค้นเมื่อ 20 December 2020.
  8. "Rosja nadal przygotowuje się do organizacji mistrzostw świata. Kompromitujący komunikat FIVB". EUROSPORT. 2022-02-25. สืบค้นเมื่อ 2022-03-01.
  9. "Nederlandse volleyballers niet naar WK in Rusland: 'Kunnen daar niet spelen'". NOS. 2022-02-28. สืบค้นเมื่อ 2022-03-01.
  10. "FIVB Volleyball Men's World Championship 2022 To Be Removed From Russia". FIVB. 2022-03-01. สืบค้นเมื่อ 2022-03-01.
  11. "FIVB Declares Russia And Belarus Not Eligible For International And Continental Competitions". FIVB. 2022-03-01. สืบค้นเมื่อ 2022-03-01.
  12. "Volleyball World Opens Accelerated Bidding Process For Relocated FIVB Volleyball Men's World Championship 2022". FIVB. 2022-03-07. สืบค้นเมื่อ 2022-03-09.
  13. 13.0 13.1 "Poland and Slovenia to host relocated FIVB Volleyball Men's World Championship 2022". FIVB. 15 April 2022. สืบค้นเมื่อ 15 April 2022.
  14. "Qualification system for FIVB Volleyball World Championships 2022 revealed". FIVB. 1 December 2020. สืบค้นเมื่อ 14 December 2020.
  15. "Men's World Championship Drawing of Lots". FIVB. 30 September 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-30. สืบค้นเมื่อ 30 September 2021.
  16. "Drawing of lots sets off countdown to 2022 Men's World Championship". FIVB. 15 July 2021. สืบค้นเมื่อ 21 September 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้