ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544 เป็นฤดูกาลในอดีตที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ฤดูกาลดังกล่าวจะลากยาวตลอด พ.ศ. 2544 โดยพายุหมุนส่วนใหญ่จะก่อตัวขึ้นระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนพฤศจิกายน

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
ระบบสุดท้ายสลายตัว29 ธันวาคม พ.ศ. 2544
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อฟ้าใส
 • ลมแรงสูงสุด195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด915 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด45 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด26 ลูก
พายุไต้ฝุ่น16 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น3 ลูก (ไม่เป็นทางการ)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด1,287 คน
ความเสียหายทั้งหมด2.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2001)
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2542, 2543, 2544, 2545, 2546

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ระหว่างเมอริเดียนที่ 100 และ 180 ตะวันออก ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ มีสองหน่วยงานที่กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งอาจเป็นผลให้พายุลูกหนึ่งมีสองชื่อ กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) จะตั้งชื่อพายุถ้าพายุลูกนั้นมีความเร็วลมที่รอบศูนย์กลางพายุที่สูงสุด 10 นาที อย่างน้อย 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไม่ว่าจะเกิดขึ้นที่ใดในแอ่ง ขณะที่สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งเคลื่อนเข้าสู่หรือก่อตัวขึ้นเป็นดีเปรสชันเขตร้อนในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานฯ ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างลองติจูด 135 และ 115 องศาตะวันออก และระหว่างละติจูด 5 ถึง 25 องศาเหนือ แม้พายุนั้นจะมีชื่อที่กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นตั้งแล้วก็ตาม นอกจากนี้พายุดีเปรสชันเขตร้อนซึ่งถูกเฝ้าติดตามโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม (JTWC) ของสหรัฐยังได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียกด้วย

ภาพรวมฤดูกาล แก้

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก (คณะกรรมการไต้ฝุ่น)
  พายุดีเปรสชัน (≤61 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (118–156 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อน (62–88 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (157–193 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังแรง (89–117 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (≥194 กม./ชม.)

พายุ แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรงซีมารอน แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 6 – 14 พฤษภาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: กรีซิง

พายุโซนร้อนซีมารอนก่อตัวในวันที่ 6 พฤษภาคม เคลื่อนผ่านฟิลิปปินส์เคลื่อนไปทางเหนือ และสลายตัวในวันที่ 14 พฤษภาคม

พายุไต้ฝุ่นเชบี แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 19 – 23 มิถุนายน
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เอโมง

พายุโซนร้อนกำลังแรงทุเรียน แก้

0103 (JMA)・05W (JTWC)
พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 29 มิถุนายน – 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2544
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงอูตอร์ แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 30 มิถุนายน – 7 กรกฎาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เฟเรีย

พายุโซนร้อนจ่ามี แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 8 – 13 กรกฎาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: โกรีโย

พายุก่อตัวขึ้นทางตะวันออกของฟิลิปปินส์ จ่ามีเคลื่อนไปในแนวทิศตะวันตกเฉียงเหนือตลอดช่วงอายุของมัน และสลายตัวลงในวันที่ 13 กรกฎาคม เหนือด้านตะวันออกเฉียงใต้ของจีน

พายุไต้ฝุ่นกองเร็ย แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 21 – 28 กรกฎาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)

กองเร็ยก่อตัวทางใต้ของญี่ปุ่น ซึ่งในช่วงแรกเคลื่อนไปทางทิศตะวันตกแต่ต่อมาระบบได้เคลื่อนที่โค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และสลายตัวในวันที่ 28 กรกฎาคม

พายุโซนร้อนกำลังแรงยวี่ถู่ แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 23 – 26 กรกฎาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ฮัวนิง

ยวี่ถู่เข้าพัดขึ้นแผ่นดินของฮ่องกง และสลายตัวลงในวันที่ 26 กรกฎาคม

พายุไต้ฝุ่นโทราจี แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 25 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: อิซัง

พายุไต้ฝุ่นหม่านหยี่ แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 1 – 9 สิงหาคม
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนอูซางิ แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 8 – 11 สิงหาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นปาบึก แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 13 – 22 สิงหาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นหวู่ติบ แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 26 สิงหาคม – 2 กันยายน
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเซอปัต แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 26 – 29 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนฟิโทว์ แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 28 สิงหาคม – 1 กันยายน
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นดานัส แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 3 – 12 กันยายน
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
945 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.91 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นนารี แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 5 – 21 กันยายน
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: กีโก

พายุไต้ฝุ่นวิภา แก้

0117 (JMA)・21W (JTWC)
พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 16 กันยายน – 21 กันยายน พ.ศ. 2544
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฟรานซิสโก แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 18 – 25 กันยายน
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
945 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.91 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเลกีมา แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 22 – 30 กันยายน
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ลาบูโย

พายุไต้ฝุ่นกรอซา แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 3 – 9 ตุลาคม
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 11 – 18 ตุลาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: มาริง

พายุไต้ฝุ่นพอดึล แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 18 – 27 ตุลาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
925 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.32 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเหล่งเหล่ง แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 5 – 12 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: นานัง

พายุโซนร้อนคาจิกิ แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 4 – 9 ธันวาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เกดัน

พายุโซนร้อน 31W แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 10 – 12 ธันวาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
997 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.44 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฟ้าใส แก้

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 13 – 25 ธันวาคม
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
915 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.02 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนฮวาเหม่ย์ แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 26 – 29 ธันวาคม (ออกนอกแอ่ง)
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน แก้

รายการพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงสูงสุดเป็นเพียงพายุดีเปรสชัน โดยอาจเป็นพายุที่มีรหัสเรียกตามหลังด้วยตัวอักษร W โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม หรืออาจได้รับชื่อท้องถิ่นจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) แต่ไม่ถูกตั้งชื่อตามเกณฑ์ของกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) ซึ่งหน่วยงานดังกล่าวระบุเพียงแต่คำว่า TD (Tropical Depression) หรือพายุดีเปรสชันเท่านั้น

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 01W (เอาริง) แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 17 – 21 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

ในช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ พายุดีเปรสชันเขตร้อนเคลื่อนผ่านประเทศฟิลิปปินส์

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 02W (บาโรก) แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 16 – 18 เมษายน
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนดาร์นา แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
   
ระยะเวลา 17 – 19 มิถุนายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 08W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 10 – 11 กรกฎาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 08W เป็นระบบพายุช่วงอายุสั้น ซึ่งก่อตัวอยู่ในที่ห่างไกลจากแผ่นดินในช่วงกลางเดือนกรกฎาคม

พายุดีเปรสชันเขตร้อน แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
 
ระยะเวลา 16 – 19 กรกฎาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุช่วงอายุสั้นอีกลูกก่อตัวในวันที่ 16 ถึง 19 กรกฎาคม

พายุดีเปรสชันเขตร้อน แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
 
ระยะเวลา 1 – 8 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนโฮลีนา แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
   
ระยะเวลา 16 – 19 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 15W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 24 – 27 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

ระบบพายุอายุสั้นที่ไม่ส่งผลกระทบกับแผ่นดิน

พายุดีเปรสชันเขตร้อน แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
 
ระยะเวลา 5 – 12 กันยายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
 
ระยะเวลา 7 – 12 กันยายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
 
ระยะเวลา 21 – 22 ตุลาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 28W (โอนโดย) แก้

พายุโซนร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 16 – 25 กันยายน
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
997 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.44 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 29W (ปาบลิง) แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 18 – 24 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ แก้

ภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ทั้งกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) และสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) ต่างทำหน้าที่กำหนดชื่อของพายุหมุนเขตร้อนซึ่งก่อตัวภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ซึ่งเป็นผลให้พายุหมุนเขตร้อนอาจมีสองชื่อ[1] RSMC โตเกียวโดยกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น — ศูนย์ไต้ฝุ่นจะกำหนดชื่อสากลให้กับพายุหมุนเขตร้อนในนามของคณะกรรมการไต้ฝุ่นขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ซึ่งพวกเขาจะประมาณความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาทีของพายุหมุนเขตร้อน หากมีความเร็วลมถึง 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (40 ไมล์ต่อชั่วโมง) พายุหมุนเขตร้อนดังกล่าวจะได้รับชื่อ[2] ส่วน PAGASA จะกำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน ซึ่งเคลื่อนตัวเข้าหรือก่อตัวขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ มีขอบเขตอยู่ระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 135°ดะวันออก ถึง 115°ตะวันออก และระหว่างเส้นขนานที่ 5°เหนือ ถึง 25°เหนือ แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนลูกนั้นจะได้รับชื่อสากลแล้วก็ตาม[1] โดยชื่อของพายุหมุนเขตร้อนที่มีนัยสำคัญจะถูกถอนโดยทั้ง PAGASA และ คณะกรรมการไต้ฝุ่น[2] ในระหว่างฤดูกาล หากรายชื่อของภูมิภาคฟิลิปปินส์ที่เตรียมไว้ถูกใช้จนหมด PAGASA จะใช้ชื่อจากรายชื่อเพิ่มเติม ซึ่งถูกกำหนดขึ้นไว้ในแต่ละฤดูกาลมาใช้กับพายุหมุนเขตร้อนแทนชื่อที่หมดไป

ชื่อสากล แก้

กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) จะเป็นหน่วยงานที่กำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน เมื่อระบบได้รับการประมาณว่า มีความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาที ที่ 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (40 ไมล์ต่อชั่วโมง)[3] โดย JMA จะคัดเลือกชื่อจากรายการ 140 ชื่อ ซึ่งได้รับการปรับปรุงโดย 14 ประเทศสมาชิกและดินแดนของคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP)/WMO คณะกรรมการไต้ฝุ่น[4] โดยรายชื่อด้านล่างจะเป็นรายชื่อ พร้อมเลขรหัสพายุ ชื่อที่ใช้เป็นชื่อแรกของฤดูกาล 2544 คือ ซีมารอน จากชุดที่ 1 และชื่อที่ใช้เป็นชื่อสุดท้ายคือ ฮวาเหม่ย์ จากชุดที่ 2 รวมมีชื่อจากชุดรายชื่อถูกใช้ 26 ชื่อ

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสากลของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกในฤดูกาล 2544
ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ
ชุดที่ 1 0101 ซีมารอน
(Cimaron)
ชุดที่ 2 0108 โทราจี
(Toraji)
ชุดที่ 2 0115 ดานัส
(Danas)
ชุดที่ 2 0122 โพดุล
(Podul)
0102 เชบี
(Chebi)
0109 หม่านหยี่
(Man-yi)
0116 นารี
(Nari)
0123 เหล่งเหล่ง
(Lingling)
0103 ทุเรียน
(Durian)
0110 อูซางิ
(Usagi)
0117 วิภา
(Vipa)
0124 คาจิกิ
(Kajiki)
0104 อูตอร์
(Utor)
0111 ปาบึก
(Pabuk)
0118 ฟรานซิสโก
(Francisco)
0125 ฟ้าใส
(Faxai)
0105 จ่ามี
(Trami)
0112 หวู่ติบ
(Wutip)
0119 เลกีมา
(Lekima)
0126 ฮวาเหม่ย์
(Vamei)
ชุดที่ 2 0106 กองเร็ย
(Kong-rey)
0113 เซอปัต
(Sepat)
0120 กรอซา
(Krosa)
0107 ยวี่ถู่
(Yutu)
0114 ฟิโทว์
(Fitow)
0121 ไห่เยี่ยน
(Haiyan)

หมายเหตุ: ครั้งนี้เป็นเพียงครั้งเดียวที่ใช้ชื่อ "วิภา" ที่สะกดด้วยอักษรโรมันว่า "Vipa" ก่อนจะมีการแก้ไขการสะกดเป็น "Wipha" ในปี พ.ศ. 2545[5]

ฟิลิปปินส์ แก้

สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) จะใช้ชื่อของตัวเองหากมีพายุใดก่อตัวหรือเคลื่อนผ่านพื้นที่รับผิดชอบของตน[6] ชุดรายชื่อแบบใหม่นี้เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2544 โดยชุดรายชื่อนี้มีกำหนดจะถูกนำมาใช้อีกครั้งในฤดูกาล ค.ศ. 2005 (พ.ศ. 2548) ด้วย[6] เนื่องจากเป็นชุดรายชื่อที่เริ่มใหม่ จึงไม่มีชื่อใดในรายการนี้ที่ถูกถอนเลย ส่วนชื่อที่ไม่ถูกใช้จะทำเป็น อักษรสีเทา

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนท้องถิ่นฟิลิปปินส์ในฤดูกาล 2544
เอาริง (Auring) เฟเรีย (Feria) (0104) กีโก (Kiko) (0116) ปาบลิง (Pabling) อูบเบง (Ubbeng) (ไม่ถูกใช้)
บาโรก (Barok) โกรีโย (Gorio) (0105) ลาบูโย (Labuyo) (0119) เกดัน (Quedan) (0124) บินตา (Vinta) (ไม่ถูกใช้)
กรีซิง (Crising) (0101) ฮัวนิง (Huaning) (0107) มาริง (Maring) (0121) โรเลตา (Roleta) (ไม่ถูกใช้) วิลมา (Wilma) (ไม่ถูกใช้)
ดาร์นา (Darna) อิซัง (Isang) (0108) นานัง (Nanang) (0123) ซีบัก (Sibak) (ไม่ถูกใช้) ยานิง (Yaning) (ไม่ถูกใช้)
เอโมง (Emong) (0102) โฮลีนา (Jolina) โอนโดย (Ondoy) ตาลาฮีบ (Talahib) (ไม่ถูกใช้) ซูมา (Zuma) (ไม่ถูกใช้)
รายชื่อเพิ่มเติม
อาลามิด (Alamid) (ไม่ถูกใช้) โกนชิง (Conching) (ไม่ถูกใช้) เอร์นี (Ernie) (ไม่ถูกใช้) เกราร์โด (Gerardo) (ไม่ถูกใช้) อิสโก (Isko) (ไม่ถูกใช้)
บรูโน (Bruno) (ไม่ถูกใช้) โดโลร์ (Dolor) (ไม่ถูกใช้) โฟลรันเต (Florante) (ไม่ถูกใช้) เฮร์นัน (Hernan) (ไม่ถูกใช้) เจอโรม (Jerome) (ไม่ถูกใช้)

การถอนชื่อ แก้

ชื่อ ฮวาเหม่ย์ ถูกถอนออกโดยคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP)/คณะกรรมการไต้ฝุ่นขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) โดยมีการนำชื่อ เผ่ย์ผ่า มาใช้แทน ส่วนชื่อ นานัง ถูกถอนโดย PAGASA โดยนำชื่อ นันโด มาใช้แทนในปี ค.ศ. 2005 (พ.ศ. 2548)

ผลกระทบ แก้

ตารางนี้รวมเอาทั้งหมดของระบบพายุที่ก่อตัวภายใน หรือ เคลื่อนตัวเข้ามาในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งวันสากล ภายในปี พ.ศ. 2544 ประกอบด้วยชื่อพายุ ความรุนแรง บริเวณที่มีผลกระทบ จำนวนผู้เสียชีวิต และความเสียหาย ความเสียหายทั้งหมดเป็นค่าเงินดอลลาร์สหรัฐปี ค.ศ. 2001 (พ.ศ. 2544) ความเสียหายและผู้เสียชีวิตจากพายุนั้นรวมไปถึงตั้งแต่ครั้งเมื่อพายุยังเป็นเพียงหย่อมความกดอากาศต่ำ หรือเปลี่ยนผ่านไปเป็นความกดอากาศต่ำนอกเขตร้อนแล้ว

ชื่อพายุ ช่วงวันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีกำลังสูงสุด
ความเร็วลมต่อเนื่อง
(เฉลี่ย 10 นาที)
ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ความเสียหาย
(USD)
ผู้เสียชีวิต อ้างอิง
01W
(เอาริง)
17 – 20 กุมภาพันธ์ พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ ไม่ทราบ 15
02W
(บาโรก)
16 – 18 เมษายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 45 กม./ชม. 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
TD 6 – 7 พฤษภาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ ไม่มี ไม่มี
ซีมารอน
(กรีซิง)
9 – 14 พฤษภาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 985 hPa (29.09 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน &0000000000555000000000555 พันดอลลาร์สหรัฐ ไม่มี
ดาร์นา 17 – 19 มิถุนายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน ไม่ทราบ ไม่มี
เชบี
(เอโมง)
19 – 24 มิถุนายน พายุไต้ฝุ่น 120 กม./ชม. 965 hPa (28.5 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, จีน, ไต้หวัน &0000000471000000000000471 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 108
ทุเรียน June 29 – July 2 พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 970 hPa (28.64 นิ้วปรอท) จีน, เวียดนาม &0000000422000000000000422 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 110
อูตอร์
(เฟเรีย)
1 – 7 กรกฎาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 110 กม./ชม. 960 hPa (28.35 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, จีน, ไต้หวัน &0000000331500000000000332 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 197
จ่ามี
(โกรีโย)
8 – 11 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 994 hPa (29.35 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, จีน ไม่ทราบ 3
08W 10 – 11 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 45 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
TD 16 – 19 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่ทราบ ไม่มี
กองเร็ย 21 – 28 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 955 hPa (28.2 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ยวี่ถู่
(ฮัวนิง)
22 – 26 กรกฎาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. 975 hPa (28.79 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, จีน &000000007550000000000075.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไม่มี
โทราจี
(อิซัง)
25 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 960 hPa (28.35 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, จีน &0000000245000000000000245 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 200
หม่านหยี่ 1 – 9 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 955 hPa (28.2 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา &000000000005000000000050 พันดอลลาร์สหรัฐ ไม่มี
TD 2 – 3 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไต้หวัน, หมู่เกาะรีวกีว ไม่มี ไม่มี
TD 5 – 8 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ภาคตะวันออกของจีน, เกาหลี ไม่มี ไม่มี
อูซางิ 8 – 11 สิงหาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 992 hPa (29.29 นิ้วปรอท) จีน, เวียดนาม, ลาว, ไทย &00000000032000000000003.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 3
ปาบึก 13 – 22 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 960 hPa (28.35 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา, ญี่ปุ่น &00000000071000000000007.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 6
โฮลีนา 16 – 19 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 998 hPa (29.47 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &00000000091000000000009.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 41
TD 22 – 24 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
TD 22 – 23 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
15W 24 – 28 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
หวู่ติบ 26 สิงหาคม – 2 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 930 hPa (27.46 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เซอปัต 26 – 30 สิงหาคม พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 990 hPa (29.24 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ฟิโทว์ 28 สิงหาคม – 1 กันยายน พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 990 hPa (29.24 นิ้วปรอท) จีน &0000000201700000000000202 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 4
ดานัส 3 – 14 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 945 hPa (27.91 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น &000000001280000000000012.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 9
นารี
(กีโก)
5 – 21 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 960 hPa (28.35 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, จีน &0000000443000000000000443 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 104
TD 5 – 7 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ภาคใต้ของจีน ไม่มี ไม่มี
TD 8 – 10 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ไต้หวัน, หมู่เกาะรีวกีว ไม่มี ไม่มี
TD 9 – 12 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ภาคใต้ของจีน, เวียดนาม ไม่มี ไม่มี
วิภา 17 – 21 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 120 กม./ชม. 975 hPa (28.79 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น ไม่มี ไม่มี
ฟรานซิสโก 18 – 25 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 945 hPa (27.91 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เลกีมา
(ลาบูโย)
22 – 30 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 965 hPa (28.5 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, จีน ไม่ทราบ 2
กรอซา 3 – 9 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 950 hPa (28.05 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา ไม่มี ไม่มี
ไห่เยี่ยน
(มาริง)
11 – 18 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 960 hPa (28.35 นิ้วปรอท) ไต้หวัน, ญี่ปุ่น &00000000034000000000003.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 2
โพดุล 19 – 27 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. 925 hPa (27.32 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์ ไม่มี ไม่มี
TD 20 – 21 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) เวียดนาม ไม่มี ไม่มี
เหล่งเหล่ง
(นานัง)
6 – 12 พฤศจิกายน พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 940 hPa (27.76 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, กัมพูชา &000000007030000000000070.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 379
28W
(โอนโดย)
17 – 25 พฤศจิกายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 996 hPa (29.41 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์, หมู่เกาะมาเรียนา, ฟิลิปปินส์ ไม่มี ไม่มี
29W
(ปาบลิง)
18 – 23 พฤศจิกายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, มาเลเซีย, บรูไน, อินโดนีเซีย ไม่มี ไม่มี
คาจิกิ
(เกดัน)
4 – 9 ธันวาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 996 hPa (29.41 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, เวียดนาม เล็กน้อย ไม่มี
31W 10 – 12 ธันวาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 997 hPa (29.44 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์ ไม่มี ไม่มี
ฟ้าใส 13 – 25 ธันวาคม พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 915 hPa (27.02 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์, หมู่เกาะมาเรียนา, ฟิลิปปินส์ &00000000010000000000001 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 2
ฮวาเหม่ย์ 26 – 29 ธันวาคม พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) สิงคโปร์, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย &00000000036000000000003.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 5
สรุปฤดูกาล
45 ลูก 17 กุมภาพันธ์ – 29 ธันวาคม   195 กม./ชม. 915 hPa (27.02 นิ้วปรอท)   &00000023008050000000002.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 1287


ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 Padgett, Gary. "Monthly Tropical Cyclone summary December 1999". Australian Severe Weather. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 11, 2012. สืบค้นเมื่อ August 28, 2012.
  2. 2.0 2.1 the Typhoon Committee (February 21, 2012). "Typhoon Committee Operational Manual 2012" (PDF). World Meteorological Organization. pp. 37–38. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ August 1, 2013.
  3. http://www.typhooncommittee.org/48th/docs/item%204%20technical%20presentations/4.1.Review2015TyphoonSeason.pdf
  4. Zhou, Xiao; Lei, Xiaotu (2012). "Summary of retired typhoons within the Western North Pacific Ocean". Tropical Cyclone Research and Review. The Economic and Social Commission for Asia and the Pacific/World Meteorological Organization's Typhoon Committee. 1 (1): 23–32. doi:10.6057/2012TCRR01.03. ISSN 2225-6032. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-12. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2014.
  5. "Typhoon Committee Operational Manual Meteorological Component" (PDF). World Meteorological Organization. p. 36. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 26 September 2007. สืบค้นเมื่อ 2007-09-16.
  6. 6.0 6.1 "Philippine Tropical Cyclone Names". Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-28. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้