รายพระนามและชื่อประมุขแห่งรัฐเม็กซิโก

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

นี่คือรายนามประมุขแห่งรัฐเม็กซิโกตั้งแต่การสถาปนาจักรวรรดิเม็กซิโกเมื่อปี ค.ศ. 1822 ถึงสหรัฐเม็กซิโกในปัจจุบัน

จักรวรรดิเม็กซิโกที่ 1 (1821–1823) แก้

คณะผู้สำเร็จราชการชุดที่ 1 แก้

หลังสิ้นสุดสงครามประกาศเอกราชเม็กซิโก, คณะรัฐบาลชั่วคราวประกอบไปด้วยสมาชิก 34 คน ได้ลงนามใน คำประกาศอิสรภาพแห่งจักรวรรดิเม็กซิโก และสถาปนาคณะผู้สำเร็จราชการขึ้นมา 6 คน

ผู้สำเร็จราชการ[1] เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง หมายเหตุ
  อากุสติน เดอ อิตูร์บิเต 28 กันยายน 1821 11 เมษายน 1822
  ควน โอโดโนคู 28 กันยายน 1821 8 ตุลาคม 1821 Died in office.
  อันโตนิโอ เปเรซ มาร์ติเนซ 8 ตุลาคม 1821 11 เมษายน 1822
  มานูเอล เดอ ลา บาร์เซนา 28 กันยายน 1821 11 เมษายน 1822
  โคเซ อิสิโดร ยาแยส 28 กันยายน 1821 11 เมษายน 1822
  มานูเอล เวลาเควซ เดอ เลออน 28 กันยายน 1821 11 เมษายน 1822

คณะผู้สำเร็จราชการชุดที่ 2 แก้

ผู้สำเร็จราชการ เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง หมายเหตุ
  อากุสติน เดอ อิตูร์บิเต 11 เมษายน 1822 18 พฤษภาคม 1822
  โคเซ อิสิโดร ยาแยส 11 เมษายน 1822 18 พฤษภาคม 1822
  มิเกล วาเลนติน 11 เมษายน 1822 18 พฤษภาคม 1822
  มานูเอล เดอ เฮราซ 11 เมษายน 1822 18 พฤษภาคม 1822
  นิโคลาส บราโว 11 เมษายน 1822 18 พฤษภาคม 1822

จักรพรรดิอากุสตินที่ 1 แก้

จักรพรรดิ พระราชลัญจกร เริ่มรัชกาล สิ้นรัชกาล ราชวงศ์ จักรพรรดินี
  อากุสตินที่ 1
(1783–1824)
  19 พฤษภาคม 1822 19 มีนาคม 1823 อิตูร์บิเต   อานา มารีอา
(1786–1861)

รัฐบาลชั่วคราว (1823–1824) แก้

รัฐบาลชั่วคราว (1823–1824) เป็นองค์กรที่ใช้ อำนาจบริหาร ในรัฐบาลของเม็กซิโก หลังการสิ้นสุดจักรวรรดิเม็กซิโกที่หนึ่ง ใน จักรพรรดิอากุสติน, ในค.ศ. 1823.[2]องค์กรมีหน้าที่ในการจัดการปูทางไปยังการจัดตั้งสหพันธรัฐ และยังคงดำรงอยู่ตั้งแต่ 1 เมษายน 1823 ถึง 10 ตุลาคม 1824[3]

ประมุขแห่งรัฐ[4][5][6] เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง หมายเหตุ
  นิโคลาส บราโว 31 มีนาคม 1823 10 ตุลาคม 1824
  กวาเดอลูป วิกตอเรีย 31 มีนาคม 1823 10 ตุลาคม 1824
  เปโดร เซเลสติโน เนแกรต 31 มีนาคม 1823 10 ตุลาคม 1824
  มาเรียโน มิเชเลนา 1 เมษายน 1823 10 ตุลาคม 1824 Substitute Member
  มิเกล โดมินิเกซ 1 เมษายน 1823 10 ตุลาคม 1824 Substitute Member
  วีเซนเต้ เกอเรโร 1 เมษายน 1823 10 ตุลาคม 1824 Substitute Member

สหพันธรัฐที่ 1 (1824–1835) แก้


ประธานาธิบดี เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรคการเมือง รองประธานาธิบดี หมายเหตุ
1   กวาเดอลูป วิกตอเรีย
(1786–1843)
10 ตุลาคม 1824 31 มีนาคม 1829 อิสระ นิโคลาส บราโว ประธานาธิบดีเม็กซิโกคนแรกที่มาจากการเลือกตั้งโดยวิธีทางรัฐธรรมนูญและเป็นประธานาธิบดีคนเดียวในรอบ 30 ปีที่ดำรงตำแหน่งครบวาระในรอบ 30 ปีนับแต่การประกาศเอกราชของเม็กซิโก[7]
2   วีเซนเต้ เกอเรโร
(1782–1831)
1 เมษายน 1829 17 ธันวาคม 1829 เสรีนิยม อะนาสตาซิโอ บุสตามานเต เขาได้รับการแต่งตั้งจากสภาคองเกรสหลังจากการลาออกของประธานาธิบดี ผู้มาจากการเลือกตั้งมานูเอล โกเมซ เปดราซา.[8][9]
3   โคเซ มาเรีย โบกาเนกรา
(1787–1862)
17 ธันวาคม 1829 23 ธันวาคม 1829 Popular York Rite Party
(part of the Liberal Party)
เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีโดยรัฐสภาเป็นช่วงสั้น ๆ หลังเกอร์เรโรลาออกจากตำแหน่งเพื่อสู้รบกับ กบฏซึ่งนำโดยรองประธานาธิบดี[10][11]
  เปโดร เวเลซ
(1787–1848)
23 ธันวาคม 1829 31 ธันวาคม 1829 เสรีนิยม ในฐานะประธานศาลสูงสุด เขาได้รับการแต่งตั้งจากรัฐสภา ในฐานะหัวหน้าฝ่ายบริหารระดับสูงร่วมกับลูกัส อาลามานและลูอิส กินตานาร์[12]
4   อะนาสตาซิโอ บุสตามานเต
(1780–1853)
1 มกราคม 1830 13 สิงหาคม 1832 อนุรักษ์นิยม รองประธานาธิบดี เขาขึ้นสู่ตำแหน่งหลังรัฐประหารเกอเรโรสำเร็จ[13]
5   เมลชอร์ มุสกวิซ
(1790–1844)
14 สิงหาคม 1832 24 ธันวาคม 1832 Popular York Rite Party
(part of the Liberal Party)
เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีโดยรัฐสภาเป็นช่วงสั้น ๆ หลังบุสตามานเตลาออกเพื่อสู้รบกับกบฎนำโดยซานตาอันนา[14][15][16]
6   มานูเอล โกเมซ เปดราซา
(1789–1851)
24 ธันวาคม 1832 31 มีนาคม 1833 Federalist York Rite Party
(part of the Liberal Party)
He assumed the presidency to conclude the term he would have begun in 1829, had he not resigned prior to inauguration, as the winner of the elections of 1828.[17][18]
7   วาเลนติน โกเมส ฟาเรียส
(1781–1858)
1 เมษายน 1833 16 พฤษภาคม 1833 เสรีนิยม ในฐานะรองประธานาธิบดี เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีแทนที่ซานตาอันนาพร้อมกับผู้ได้รับการเลือกตั้งในการเลือกตั้ง ค.ศ. 1833
[19][20][21]
8   อันโตนิโอ โลเปซ เดอ ซานตา อันนา
(1794–1876)
16 พฤษภาคม 1833 3 มิถุนายน 1833 เสรีนิยม วาเลนติน โกเมส ฟาเรียส เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยวิธีทางรัฐธรรมนูญ เขาสลับตำแหน่งประธานาธิบดีกับรองประธานาธิบดีฟาเรียสกว่า 4 ครั้งจนกระทั่งวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1834
[22][23][24]
  วาเลนติน โกเมส ฟาเรียส
(1781–1858)
3 มิถุนายน 1833 18 มิถุนายน 1833 เสรีนิยม
  อันโตนิโอ โลเปซ เดอ ซานตา อันนา
(1794–1876)
18 มิถุนายน 1833 5 กรกฎาคม 1833 เสรีนิยม วาเลนติน โกเมส ฟาเรียส
  วาเลนติน โกเมส ฟาเรียส
(1781–1858)
5 กรกฎาคม 1833 27 ตุลาคม 1833 เสรีนิยม
  อันโตนิโอ โลเปซ เดอ ซานตา อันนา
(1794–1876)
27 ตุลาคม 1833 15 ธันวาคม 1833 เสรีนิยม วาเลนติน โกเมส ฟาเรียส
  วาเลนติน โกเมส ฟาเรียส
(1781–1858)
16 ธันวาคม 1833 24 เมษายน1834 เสรีนิยม เขาสนับสนุนการปฏิรูปเสรีนิยมทำให้ฝ่ายอนุรักษ์นิยมและคริสตจักรไม่พอใจ ซานตาอันนากลับมาอีกครั้งและเขาได้ลี้ภัยทางการเมืองไป[25]
  อันโตนิโอ โลเปซ เดอ ซานตา อันนา
(1794–1876)
24 เมษายน 1834 27 มกราคม 1835 เสรีนิยม เขายกเลิกการปฏิรูปเสรีนิยม ในวันที่ 27 มกราคม ยกเลิกสภาร่างรัฐธรรมนูญที่ 6 โกเมส ฟาเรียสเป็นรองประธานาธิบดี [26]
9   มิเกล บารากัน
(1789–1836)
28 มกราคม 1835 27 กุมภาพันธ์ 1836 เสรีนิยม เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีจากรัฐสภา เมื่อซานตาอันนาลาออกไปปราบกบฏซาคาเตคัส วันที่ 23 ตุลาคมรัฐสภาได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งทำให้ รัฐธรรมนูญ 1824 และระบบสหพันธรัฐสิ้นสภาพ เขาทำหน้าที่ทั้งสองอย่างในฐานะประธานาธิบดีคนสุดท้ายของสหพันธ์สาธารณรัฐที่ 1และสาธารณรัฐกลางคนแรก [27][28][29]

สาธารณรัฐกลาง (1835–1846) แก้

ประธานาธิบดี เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรคการเมือง หมายเหตุ
9   มิเกล บาร์รากัน
(1789–1836)
28 มกราคม 1835 27 กุมภาพันธ์ 1836 เสรีนิยม เขาออกจากตำแหน่งเนื่องจากป่วยหนัก และถึงแก่อสัญกรรมใน 2 วันต่อมา อ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref>[30][31]
  อะนาสตาซิโอ บุสตามานเต
(1780–1853)
19 เมษายน 1837 18 มีนาคม 1839 อนุรักษ์นิยม เขาขึ้นดำรงตำแหน่งในฐานะประธานาธิบดีผู้ได้รับเลือกโดยวิธีทางรัฐธรรมนูญเขาได้รับการเลือกตั้งในปี ค.ศ. 1837 เป็นระยะเวลาแปดปี

[32]

  อันโตนิโอ โลเปซ เดอ ซานตา อันนา
(1794–1876)
18 มีนาคม 1839 10 กรกฎาคม 1839 เสรีนิยม เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีเฉพาะกาลโดยฝ่ายอนุรักษ์นิยมจัดเมื่อบุสตามานเตลาออกไปปราบกบฏสหพันธรัฐ อ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref>
11   นิโกลา บราโว
(1786–1854)
11 กรกฎาคม 1839 19 กรกฎาคม 1839 อนุรักษ์นิยม เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีแทนหลังซานตาอันนาพ้นจากตำแหน่งอ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref>[33]
  อะนาสตาซิโอ บุสตามานเต
(1780–1853)
19 กรกฎาคม 1839 22 กันยายน 1841 อนุรักษ์นิยม เขากลับมาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีอีกครั้ง[34]
12   ฟรานซิสโก ฆาเวียร์ เอเชเวียรา
(1797–1852)
22 กันยายน 1841 10 ตุลาคม 1841 อนุรักษ์นิยม เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีเฉพาะกาลเมื่อบุสตามานเตลาออกไปปราบกบฏนำโดย มาเรียโน ปาเรเดส อี อาร์ริลลากา, ซานตาอันนา, และ กาเบรียล วาเลนเซีย.เขาลาออกหลังกบฏได้รับชัยชนะ[35][36][37]
  อันโตนิโอ โลเปซ เดอ ซานตา อันนา
(1794–1876)
10 ตุลาคม 1841 26 ตุลาคม 1842 เสรีนิยม ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดโดยคณะทหาร (Junta de Representantes de los Departamentos) [38][39][40]
  นิโกลาส บราโว
(1786–1854)
26 ตุลาคม 1842 4 มีนาคม 1843 อนุรักษ์นิยม เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีแทนหลังซานตาอันนาพ้นจากตำแหน่ง[33]
13   วาเลนติน กานาลิโซ
(1794–1850)
4 ตุลาคม 1843 4 มิถุนายน 1844 อนุรักษ์นิยม เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีแทนหลังบราโวพ้นจากตำแหน่ง[33]
  อันโตนิโอ โลเปซ เดอ ซานตา อันนา
(1794–1876)
4 มิถุนายน 1844 12 กันยายน 1844 เสรีนิยม เขากลับมาเป็นประธานาธิบดีอีกครั้งหลังได้รับการเลือกตั้งในวิถีทางรัฐธรรมนูญโดยรัฐสภาในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 1844.[41][42]
14   โฆเซ โฆอาแกง เดอ เอเรรา
(1792–1854)
12 กันยายน 1844 21 กันยายน 1844 เสรีนิยม เขาได้รับเลือกจากรัฐสภาเพื่อแทนที่กานาลิโซ[42]
  วาเลนติน กานาลิโซ
(1794–1850)
21 กันยายน 1844 6 ธันวาคม 1844 อนุรักษ์นิยม เขาได้รับการดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีชั่วคราว[43]
  โฆเซ โฆอาแกง เดอ เอเรรา
(1792–1854)
6 ธันวาคม 1844 30 ธันวาคม 1845 เสรีนิยม ดำรงตำแหน่งชั่วคราว, และได้รับการรับรองเป็นประธานาธิบดีตามรัฐธรรมนูญโดยวุฒิสภาหลังกานาลิโซถูกจับกุมเนื่องจากพยายามยุบสภาล่างอ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref>[44]
15   มารีอาโน เปเรดส์
(1797–1849)
31 ธันวาคม 1845 28 กรกฎาคม 1846 อนุรักษ์นิยม เขามาจากการรัฐประหารเพื่อยึดอำนาจเอเรรา วันที่ 12 มิถุนายน เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีชั่วคราว [45][46]
รองประธานาธิบดี[46][47][48]
16   โฆเซ มาเรียโน ซาลาส
(1797–1867)
5 สิงหาคม 1846 23 ธันวาคม 1846 อนุรักษ์นิยม He assumed office as provisional president after the triumph of the federalist rebellion (Plan de la Ciudadela).He put in force the Constitution of 1824 on August 22.[49][50][51]He served both as last president of the Centralist Republic and first of the Second Federal Republic.

สหพันธรัฐที่ 2 (1846–1863) แก้

ประธานาธิบดี เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรคการเมือง หมายเหตุ
16   โฆเซ มาเรียโน ซาลาส
(1797–1867)
6 สิงหาคม 1846 23 ธันวาคม 1846 อนุรักษ์นิยม หลังฟื้นฟูสหพันธรัฐ เขาจัดการเลือกตั้ง ได้ซานตาอันนาเป็นผู้ชนะและได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีโดยรัฐสภาและได้ฟาเรียสเป็นรองประธานาธิบดีอ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref>
  วาเลนติน โกเมส ฟาเรียส
(1781–1858)
23 ธันวาคม 1846 21 มีนาคม 1847 เสรีนิยม รองประธานาธิบดี ปฏิบัติราชการแทนซานตาอันนาซึ่งปฏิบัติราชการสงครามในสงครามเม็กซิโก-อเมริกา[52]
  อันโตนิโอ โลเปซ เดอ ซานตา อันนา
(1794–1876)
21 มีนาคม 1847 2 เมษายน 1847 เสรีนิยม He took office as elected interim president.[53]
Vice PresidentValentín Gómez Farías
17   เปโดร มารีอา เดอ อนายา
(1795–1854)
2 เมษายน 1847 20 พฤษภาคม 1847 เสรีนิยม ซานตาอันนาลาออกไปสู้รบในสงครามเม็กซิโก–อเมริกา รัฐสภายกเลิกตำแหน่งรองประธานาธิบดี เขาจึงได้เป็นประธานาธิบดีแทน[54][55][56]
  อันโตนิโอ โลเปซ เดอ ซานตา อันนา
(1794–1876)
20 พฤษภาคม 1847 15 กันยายน 1847 เสรีนิยม เขากลับมาดำรงตำแหน่งหลังเดอ อานายา ลาออกไปสู้รบในสงครามเม็กซิโก–อเมริกา[57][58]
18   มานูเอล เดอ ลา เปญา อี เปญา
(1789–1850)
15 กันยายน 1847 13 พฤศจิกายน 1847 เสรีนิยม ในฐานะประธานศาลสูง เขาเป็นประธานาธิบดีหลังซานตาอันนาลาออก.[59][60]
  เปโดร มารีอา เดอ อนายา
(1795–1854)
13 พฤศจิกายน 1847 8 มกราคม 1848 เสรีนิยม รัฐสภาแต่งตั้งเขาเป็นประธานาธิบดีชั่วคราวเมื่อเดอ ลา เปญา อี เปญา พ้นจากตำแหน่งเพื่อไปเจรจาสันติภาพกับสหรัฐอเมริกา
  มานูเอล เดอ ลา เปญา อี เปญา
(1789–1850)
8 มกราคม 1848 3 มิถุนายน 1848 เสรีนิยม เขากลับมาดำรงตำแหน่งในฐานะรักษาการประธานาธิบดีเมื่อ เดอ อานายา ลาออกหลังปฏิเสธที่จะยกดินแดนให้สหรัฐอเมริกา[61] เขาได้ลงนามในสนธิสัญญากวาเดอลูป อิดาลโก
  โฆเซ โฆอาแกง เดอ

เอเรรา
(1792–1854)

3 มิถุนายน 1848 15 มกราคม 1851 เสรีนิยม He was the second president to finish his term and peacefully turned over the presidency to the winner of the Federal Elections of 1850, General Mariano Arista.[62]
19   มารีอาโน อาริสตา
(1802–1855)
15 มกราคม 1851 5 มกราคม 1853 เสรีนิยม He resigned on January 5, 1853 when Congress refused to give him extraordinary powers to fight the rebellion of Plan del Hospicio, the goal of which was to bring to Santa Anna once again to the presidency.[63]
20   ฆวน โบติสตา เซบาลโยส
(1811–1859)
5 มกราคม 1853 7 กุมภาพันธ์ 1853 เสรีนิยม As president of the Supreme Court, he was proposed by President Arista as his successor and confirmed the same day as interim president by Congress.[64]
21   มานูเอล มารีอา ลอมบาร์ดินี
(1802–1853)
7 กุมภาพันธ์ 1853 20 เมษายน 1853 อนุรักษ์นิยม เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีชั่วคราวโดยสภาคองเกรสเมื่องเซบาลโยสลาออกเนื่องจากกบฏที่ ปลาน เดล ออสปิซิโอ[65]
  อันโตนิโอ โลเปซ เดอ ซานตา อันนา
(1794–1876)
20 เมษายน 1853 9 สิงหาคม 1855 เสรีนิยม He swore as President but ruled as dictator.He called himself "Su Alteza Serenisima" (Serene Highness).[66][67]From this period, the only lasting thing is the Mexican National Anthem.[68][69]
22   มาร์ติน การ์เรรา
(1806–1871)
9 สิงหาคม 1855 12 กันยายน 1855 อนุรักษ์นิยม He was appointed interim president after the triumph of the Plan of Ayutlabut he took office until August 15.[69]
23   โรมูโล ดิแอซ เดอ ลา เวกา
(1800–1877)
12 กันยายน 1855 4 ตุลาคม 1855 อนุรักษ์นิยม เขาอยู่ในฐานะประธานาธิบดี โดยพฤตินัย

หลังการ์เรราลาออก[70][71]

24   ฆวน อัลวาเรส
(1790–1867)
4 ตุลาคม 1855 11 ธันวาคม 1855 เสรีนิยม He was appointed interim president by a council integrated with one representative of each state after the triumph of the Revolution of Ayutla.[72][73]
25   อิกนาซิโอ โกมงฟอร์ต
(1812–1863)
11 ธันวาคม 1855 17 ธันวาคม 1857 เสรีนิยม อัลวาเรสแต่งตั้งเขาเป็นประธานาธิบดีก่อนจะลาออกเขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีโดยวิธีทางรัฐธรรมนูญในวันที่ 1 ธันวาคม 1857[74][75]
26   เบนิโต ยัวเรซ
(1806–1872)
18 ธันวาคม 1857 18 กรกฎาคม 1872 เสรีนิยม ในฐานะประธานศาสสูง, เขาได้เป็นประธานาธิบดีชั่วคราวหลังรัฐประหารโกมงฟอร์ตเพื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1857 โกมงฟอร์ตจับกุมและปล่อยตัวเขาในภายหลัง เจาจัดตั้งรัฐบาลและรัฐธรรมนูญเสรีนิยมในวันที่ 18 มกราคม 1858.มีการต่อสู้ระหว่างฝ่ายเสรีนิยมกับอนุรักษ์นิยมเป็นที่รู้จักกันในชื่อสงครามปฏิรูป.[76]

ประธานาธิบดีที่ฝ่ายอนุรักษ์นิยมยอมรับในระหว่างสงครามปฏิรูป แก้

ประธานาธิบดี เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรคการเมือง หมายเหตุ
  อิกนาซิโอ โกมงฟอร์ต
(1812–1863)
17 ธันวาคม 1857 21 มกราคม 1858 เสรีนิยม After the declaration of Plan of Tacubaya, Congress declared that he was not longer president but he was recognized by conservatives as president with absolute powers.[77][78]
  เฟลิกซ์ มารีอา ซูโลอากา
(1813–1898)
21 มกราคม 1858 24 ธันวาคม 1858 อนุรักษ์นิยม After disown Comonfort, Zuloaga was appointed president by the Conservative Party.[79]
  มานูเอล ร็อบ เปซูเอลา
(1817–1862)
24 ธันวาคม 1858 23 มกราคม 1859 อนุรักษ์นิยม เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีของฝ่ายอนุรักษ์นิยมและสนับสนุน แผนที่นาวิดัด.[80][81]
  เฟลิกซ์ มารีอา ซูโลอากา
(1813–1898)
24 มกราคม 1859 1 กุมภาพันธ์ 1859 อนุรักษ์นิยม He was restored to the presidency by counter-rebellion led by Miguel Miramón.[80]
  มิเกล มิรามอน
(1831–1867)
2 กุมภาพันธ์ 1859 13 สิงหาคม 1860 อนุรักษ์นิยม He assumed the conservative presidency as substitute when Zuloaga left office.[82]
  โฆเซ อิกนาซิโอ ปาวอน
(1791–1866)
13 สิงหาคม 1860 15 สิงหาคม 1860 อนุรักษ์นิยม ในฐานะประธานศาลสูงสุดของรัฐบาลอนุรักษ์นิยม,เขาอยู่ในตำแหน่งได้ 2 วันเมื่อมิรามอนลาออก[83]
  มิเกล มิรามอน
(1831–1867)
15 สิงหาคม 1860 24 ธันวาคม 1860 อนุรักษ์นิยม He took office as interim president of the conservative government after he was electedby a group of "Representatives of the States" who supported the conservatives.He was defeated at the Battle of Calpulalpan, resigned the presidency and fled the country.[84]
  เฟลิกซ์ มารีอา ซูโลอากา
(1813–1898)
23 พฤษภาคม 1860 28 ธันวาคม 1862 อนุรักษ์นิยม แม้ว่าจะพ่ายแพ้ ฝ่ายอนุรักษ์นิยมได้แต่งตั้ง ซูโลอากาเป็นประธานาธิบดีจนกระทั่งวันที่ 28 ธันวาคม เมื่อเขารับรองคณะผู้สำเร็จราชการซึ่งพยายามฟื้นฟูจักรวรรดิ[85]

จักรวรรดิเม็กซิโกที่ 2 (1863–1867) แก้

คณะผู้สำเร็จราชการ แก้

On June 22, 1863, a "Superior Governing Board" was established. On July 11, the Board became the Regency of the Empire.[86][87]

ผู้สำเร็จราชการ [1] เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรคการเมือง หมายเหตุ
  ฆวน เนโปมูเคโน 11 กรกฎาคม 1863 10 เมษายน 1864 อนุรักษ์นิยม
  โฆเซ มารีอาโน ซาลาส 11 กรกฎาคม 1863 10 เมษายน 1864 อนุรักษ์นิยม
  เปลาชิโอ อันโตนิโอ เดอ ลาบาสติดา 11 กรกฎาคม 1863 10 เมษายน 1864 อนุรักษ์นิยม

จักรพรรดิแม็กซิมิเลียโนที่ 1 แก้

จักรพรรดิ พระราชลัญจกร เริ่มรัชกาล สิ้นรัชกาล ราชวงศ์ จักรพรรดินี
  แม็กซิมิเลียโนที่ 1
(1832–1867)
  10 เมษายน 1864 19 มิถุนายน 1867 ฮับส์บูร์ก-ลอร์เรน   คาร์ลอตา
(1840–1927)

ฟื้นฟูสาธารณรัฐ (1867–1876) แก้


ประธานาธิบดี Took office Left office Political Party Notes
(26)   เบนิโต ยัวเรซ
(1806–1872)
18 ธันวาคม 1857 11 มิถุนายน 1861 เสรีนิยม สมัยแรกในฐานะประธานาธิบดีช่วง สงครามปฏิรูป.
สมัยที่ 2 มาจากการที่เขาได้รับการแต่งตั้งโดยวิธีทางรัฐธรรมนูญจากรัฐสภา
สมัยที่ 3 ต่อจากสมัยที่ 2 สืบเนื่องมาจาก การรุกรานของฝรั่งเศส.
สมัยที่ 4และ5 เป็นยุคสมัยชัยชนะของสาธารณรัฐ
11 มิถุนายน 1861 30 พฤศจิกายน 1865
1 ธันวาคม 1865 7 ธันวาคม 1867
8 ธันวาคม 1867 11 ตุลาคม 1871
12 ตุลาคม 1871 18 กรกฎาคม 1872
27   เซบาสเตียน เลอร์โด เดอ เตกาดา
(1823–1889)
18 กรกฎาคม 1872 30 พฤศจิกายน 1872 เสรีนิยม ในฐานะประธาน ศาลสูง, เขาเป็นประธานาธิบดีหลังยัวเรซถึงแก่อสัญกรรม เขาถูกโค่นอำนาจโดยการปฏิวัติที่ทุกซ์เทเปกและพ้นจากตำแหน่ง 10 วัน ก่อนจะหมดวาระ[88]
1 ธันวาคม 1872 20 พฤศจิกายน 1876
28   โฆเซ มารีอา อิกเลซิอัส
(1823–1891)
26 ตุลาคม 1876 28 พฤศจิกายน 1876 เสรีนิยม As president of the Supreme Court, he voided, on grounds of fraud, the reelection of Lerdo de Tejada after Congress had declared this reelection valid, and then declared himself interim president. When Lerdo de Tejada went to exile on November 20, he became constitutional interim president.[89]

ปอร์ฟิริอาโต (1876–1911) แก้


ประธานาธิบดี เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรคการเมือง หมายเหตุ
29   ปอร์ฟิริโอ ดิแอซ
(1830–1915)
28 พฤศจิกายน 1876 6 ธันวาคม 1876 เสรีนิยม เขากลายเป็นประธานาธิบดีชั่วคราวเมื่ออิกเลซิอัสลี้ภัยออกนอกประเทศ[90]
30   ฆวน เนโปมูเคโน เมนเดซ
(1824–1894)
6 ธันวาคม 1876 17 กุมภาพันธ์ 1877 เสรีนิยม เขาได้รับการแต่งตั้งจากดิแอซให้เป็นประธานาธิบดีแทนเมื่อดิแอซลาออกไปสู้รบกับฝ่ายที่สนับสนุนเลร์โด เดอ เตฆาดา[91]
  ปอร์ฟิริโอ ดิแอซ
(1830–1915)
17 กุมภาพันธ์ 1877 30 พฤษภาคม 1880 เสรีนิยม เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีอีกครั้ง วันที่ 2 พฤษภาคม รัฐสภาแต่งตั้งเขาเป็นประธานาธิบดีโดยวิถีทางรัฐธรรมนูญ[92]
31   มานูเอล กอนซาเลซ ฟลอเรซ
(1833–1893)
1 ธันวาคม 1880 30 พฤศจิกายน 1884 เสรีนิยม เขาชนะการเลือกตั้งสหพันธรัฐในค.ศ. 1880[93]
  ปอร์ฟิริโอ ดิแอซ
(1830–1915)
1 ธันวาคม 1884 30 พฤศจิกายน 1888 ปอร์ฟิริสต์แห่งชาติ
เลือกตั้งใหม่แห่งชาติ
เขาชนะการเลือกตั้งสหพันธรัฐในค.ศ. 1884, 1888, 1892, 1896, 1900, 1904 และ 1910.
เขาลาออกระหว่างดำรงตำแหน่งสมัยที่ 7 หลังชัยชนะในการปฏิวัติเม็กซิโก.[94]
1 ธันวาคม 1888 30 พฤศจิกายน 1892
1 ธันวาคม 1892 30 พฤศจิกายน 1896
1 ธันวาคม 1896 30 พฤศจิกายน 1900
1 ธันวาคม 1900 30 พฤศจิกายน 1904
1 ธันวาคม 1904 30 พฤศจิกายน 1910 รองประธานาธิบดี
รามอน คาร์ราล
(ถึง 1904)
1 ธันวาคม 1910 25 พฤษภาคม 1911

สมัยปฏิวัติ (1911–1928) แก้

พรรคการเมือง

      ฝ่ายต่อต้านพรรคเลือกตั้งใหม่→พรรครัฐธรรมนูญก้าวหน้า
      อิสระ


ประธานาธิบดี เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง หมายเหตุ
32   ฟรานซิสโก เลออน เดอ ลา บาร์รา
(1863–1939)
25 พฤษภาคม 1911 5 พฤศจิกายน 1911 ตาม"สนธิสัญญาซิวดัด ฆัวเรซ", เขาจึงเป็นประธานาธิบดีชั่วคราวและประกาศให้จัดการเลือกตั้งทันที[95]
33[96]   ฟรานซิสโก อี มาเดโร
(1873–1913)
6 พฤศจิกายน 1911 19 กุมภาพันธ์ 1913 เขาเป็นผู้ชนะในการเลือกตั้งเฉพาะกิจ ค.ศ. 1911
เขาถูกยึดอำนาจโดยคณะรัฐประหารที่รู้จักกันว่าเหตุการณ์สิบวันวิปโยค ซึ่งวิกตอริอาโน อูเออร์ตา, เฟลิกซ์ ดิแอซ และทูตอเมริกัน. เฮนรี แอล วิลสันมีส่วนเกี่ยวข้อง เขาถูกฆาตกรรม 2 วันหลังจากนั้นพร้อมกับรองประธานาธิบดีซัวเรซ[97][98]
รองประธานาธิบดี
โฆเซ มารีอา ปิโน ซัวเรซ
34   เปโดร ลาสกูแรน
(1856–1952)
19 กุมภาพันธ์ 1913 ในฐานะ รัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศ, เขาดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีโดยวิธีทางรัฐธรรมนูญประมาณ 45 นาที เขาแต่งตั้งวิกตอรีอาโน อูเออร์ตาในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยก่อนจะลาออก[99]
35   วิกตอรีอาโน อูเออร์ตา
(1850–1916)
19 กุมภาพันธ์ 1913 15 กรกฎาคม 1914 เขาได้รับตำแหน่งมาจากการรัฐประหารยึดอำนาจมาเดโร. เขาพ่ายแพ้กองทัพรัฐธรรมนูญนำโดยผู้ว่าการรัฐโคอาอีลา, วีนุสติอาโน คาร์รันซา.[100][101]
36   ฟรานซิสโก เอส คาร์วาฆาล
(1870–1932)
15 กรกฎาคม 1914 13 สิงหาคม 1914 เขาเป็นประธานาธิบดีแทนหลังอูเออร์ตาลาออก
เขาลาออกเนื่องหลังลงนามในสนธิสัญญาเตโอโยลูกาน[102]

ประธานาธิบดีที่ได้รับการยอมรับจากกการประชุมที่อากัวซัลเลนเตส แก้

ประธานาธิบดี เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง Notes
  อูลาลิโอ กูติแอร์เรส
(1881–1939)
6 พฤศจิกายน 1914 16 มกราคม 1915 เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีชั่วคราว[103]
  โรก กอนซาเลซ การ์ซา
(1885–1962)
16 มกราคม 1915 10 มิถุนายน 1915 เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีชั่วคราวหลังกูติแอร์เรสไปจากกรุงเม็กซิโกซิตี้[104]
  ฟรานซิสโก ลากอส ชาซาโร
(1878–1932)
10 มิถุนายน 1915 10 ตุลาคม 1915 เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีชั่วคราวเมื่อกอนซาเลซลาออก[105]

ฟื้นฟูประชาธิปไตย แก้

พรรคการเมือง



ประธานาธิบดี เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรคการเมือง หมายเหตุ
37   เวนุสติอาโน คาร์รันซา
(1859–1920)
หัวหน้าฝ่ายบริหาร
ผู้นำหมายเลข 1 แห่งกองทัพภายใต้รัฐธรรมนูญ
พรรคเสรีรัฐธรรมนูญ เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารหลังคาร์วาฆาลลาออก
เขาจัดประชุมให้มีการร่างรัฐธรรมนูญซึ่งออก ธรรมนูญการปกครองแห่งสหรัฐเม็กซิโก เขาชนะในการเลือกตั้งทั่วไป ค.ศ. 1917 และดำรงตำแหน่งในฐานะประธานาธิบดีโดยวิธีทางรัฐธรรมนูญในวัที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1917
เขาถูกสังหารใน กบฏที่อากัว ปริเอตา[106]
13 สิงหาคม 1914 30 เมษายน 1917
ประธานาธิบดีเม็กซิโก
1 พฤษภาคม 1917 21 พฤษภาคม 1920
38   อดอลโฟ เดอ ลา อูเออร์ตา
(1881–1955)
1 มิถุนายน 1920 30 พฤศจิกายน 1920 พรรคเสรีรัฐธรรมนูญ เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีชั่วคราวโดยรัฐสภา[107]
39   อัลวาโร โอเบรกอน
(1880–1928)
1 ธันวาคม 1920 30 พฤศจิกายน 1924 พรรคแรงงาน เขาเป็นผู้ชนะในการเลือกตั้งทั่วไปในเม็กซิโก ค.ศ. 1920.[108]
40   ปลูตาร์โก เอเลียส กัลเลซ
(1877–1945)
1 ธันวาคม 1924 30 พฤศจิกายน 1928 พรรคแรงงาน เขาเป็นผู้ชนะใน การเลือกตั้งทั่วไปในเม็กซิโก ค.ศ. 1924.[109]

มาซิมาโต (1928–1934) แก้



ประธานาธิบดี เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรค หมายเหตุ
41   เอมิลิโอ ปอร์เตส กิล
(1890–1978)
1 ธันวาคม 1928 4 กุมภาพันธ์ 1930 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ หลังการลอบสังหารอัลวาโร โอเบรกอน, รัฐสภาแต่งตั้งให้เขาดำรงตำแหน่งแทน[110]
42   ปาสกูอัล ออร์ติซ รูบิโอ
(1877–1963)
5 กุมภาพันธ์ 1930 4 กันยายน 1932 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ เขาเป็นผู้ชนะในการเลือกตั้งทั่วไป ค.ศ. 1929
เขาลาออกหลังกัลเลซเข้าแทรกแซงรัฐบาล[111][112]
43   อาเบลาร์โด แอล โรดริเกวซ
(1889–1967)
4 กันยายน 1932 30 พฤศจิกายน 1934 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ รัฐสภาแต่งตั้งเขาเป็นประธานาธิบดีแทนเพื่อให้รัฐบาลครบวาระ[113]

เม็กซิโกสมัยใหม่ (1934–ปัจจุบัน) แก้

หลังการปฏิรูปรัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1933, ประธานาธิบดีจะมีวาระ 6 ปี และถูกตัดสิทธิ์ในการลงสมัตรเลือกตั้งครั้งต่อไป หลังการเลือกตั้งทั่วไป ค.ศ. 1934 ประธานาธิบดีดำรงตำแหน่งครบวาระทุกคน


ประธานาธิบดี เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรค การเลือกตั้ง
44   ลาซาโร การ์เดนัส
(1895–1970)
1 ธันวาคม 1934 30 พฤศจิกายน 1940 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ 1934
45   มานูเอล อาบิลา กามาโช
(1896–1955)
1 ธันวาคม 1940 30 พฤศจิกายน 1946 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ 1940
46   มิเกล อาเลมาน วาลเดส
(1900–1983)
1 ธันวาคม 1946 30 พฤศจิกายน 1952 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ 1946
47   อดอลโฟ รูอิซ คอร์ติเนซ
(1889–1973)
1 ธันวาคม 1952 30 พฤศจิกายน 1958 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ 1952
48   อดอลโฟ โลเปซ มาเตออส
(1910–1969)
1 ธันวาคม 1958 30 พฤศจิกายน 1964 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ 1958
49   กุสตาโว ดิแอซ ออร์ดาซ
(1911–1979)
1 ธันวาคม 1964 30 พฤศจิกายน 1970 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ 1964
50 ลุยส์ เอเชเบร์ริอา
(เกิด 1922)
1 ธันวาคม 1970 30 พฤศจิกายน 1976 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ 1970
51   โฆเซ โลเปซ ปอร์ติลโล
(1920–2004)
1 ธันวาคม 1976 30 พฤศจิกายน 1982 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ 1976 (ไม่มีใครโต้แย้ง)
52   มิเกล เด ลา มาดริด
(1934–2012)
1 ธันวาคม 1982 30 พฤศจิกายน 1988 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ 1982
53   คาร์ลอส ซาลินาส เด กอร์ตารี
(เกิด 1948)
1 ธันวาคม 1988 30 พฤศจิกายน 1994 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ 1988
54   เออร์เนสโต เซดิลโล
(เกิด 1951)
1 ธันวาคม 1994 30 พฤศจิกายน 2000 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ 1994
55   วิเซนต์ ฟ็อกซ์
(เกิด 1942)
1 ธันวาคม 2000 30 พฤศจิกายน 2006 พรรคการเมืองแห่งชาติ 2000
56   เฟลิเป กัลเดรอน
(เกิด 1962)
1 ธันวาคม 2006 30 พฤศจิกายน 2012 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ 2006
57   เอนริเก เปญญา นิเอโต
(เกิด 1966)
1 ธันวาคม 2012 30 พฤศจิกายน 2018 พรรคปฏิวัติแห่งชาติ 2012
58   อันเดรส มานูเอล โลเปซ โอบราดอร์
(เกิด 1953)
1 ธันวาคม 2018 ปัจจุบัน ขบวนการฟื้นฟูแห่งชาติ 2018

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "El viajero en México: Ó sea la capital de la República, encerrada en un libro". Open Library. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  2. INEHRM Secretaría de Gobernación เก็บถาวร 2014-03-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  3. "El Viajero en México (Pág. 30)" (PDF). CDigital. สืบค้นเมื่อ September 12, 2010.
  4. "Decreto. Nombramiento de los individuos que han de componer el poder ejecutivo" (ภาษาสเปน). 500 años de México en documentos. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-03. สืบค้นเมื่อ August 8, 2011.
  5. "Decreto. Nombramiento de suplentes para el supremo poder ejecutivo" (ภาษาสเปน). 500 años de México en documentos. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-03. สืบค้นเมื่อ August 8, 2011.
  6. "Vicente Guerrero, 1782-1831" (ภาษาสเปน). Gobierno Federal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-12. สืบค้นเมื่อ August 8, 2011.
  7. "How the First President of the United Mexican States came into office" (PDF). 500 años de México en documentos. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ October 3, 2010.
  8. La expulsión de los españoles de México y su destino incierto, 1821-1836 (ภาษาสเปน). pp. 74–75. สืบค้นเมื่อ October 12, 2010.
  9. "Vicente Guerrero". Federal Government Of Mexico. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-10. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  10. "Acuerdo de la Cámara de Diputados. Elección de presidente interino de la República en el Excmo. Sr. D. José María Bocanegra" (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-24. สืบค้นเมื่อ July 8, 2011.
  11. "José María Bocanegra asume interinamente la presidencia de la República, por licencia de Vicente Guerrero" (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  12. "Acuerdo del consejo de gobierno. Nombramiento de asociados al Excmo. Sr. Presidente de la Suprema Corte de Justicia, para ejercer el supremo poder ejecutivo" (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  13. "Anastasio Bustamante, vicepresidente con Vicente Guerrero, asume la Presidencia de la República" (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  14. "Melchor Múzquiz sustituye como presidente interino a Anastasio Bustamante" (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  15. "Melchor Múzquiz" (ภาษาสเปน). Presidencia de la Republica. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  16. "Anastasio Bustamante" (ภาษาสเปน). Secretaria de Educación Publica en el Distrito Federal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-03. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  17. "Manuel Gómez Pedraza" (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-27. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  18. "Manuel Gómez Pedraza asume la presidencia de la República mediante los convenios de Zavaleta" (ภาษาสเปน). Memoria Politica de Mexico. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  19. "El Sr. D. Valentín Gómez Farías, al jurar como Vicepresidente" (ภาษาสเปน). Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  20. "Santa Anna asume por primera vez la presidencia de México" (ภาษาสเปน). Imagen Política de México y del Mundo. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  21. "Valentín Gómez Farías" (ภาษาสเปน). Presidencia de la Republica. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  22. "Antonio López de Santa Anna" (ภาษาสเปน). Federal Government of Mexico. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-02-01. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  23. "Antonio López de Santa Anna asume por primera vez la presidencia de México" (ภาษาสเปน). Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  24. "La adicción al poder. Reelección o No Reelección" (ภาษาสเปน). Internet para el profesional de la política. p. 2. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  25. "Santa Anna asume el poder; Valentín Gómez Farías va al exilio" (ภาษาสเปน). Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.
  26. "Relación Cronológica de las Legislaturas de la Cámara de Diputados" (PDF) (ภาษาสเปน). Cámara de Diputados. สืบค้นเมื่อ August 9, 2011.[ลิงก์เสีย]
  27. Riva Palacio, Vicente (1940). México a través de los siglos (ภาษาสเปน). Editorial Cumbre. สืบค้นเมื่อ August 10, 2011.
  28. De La Fuente Guerrero, Sara C. (2003). Las Constituciones de México (ภาษาสเปน). México: Servigraf.
  29. "Bases constitucionales expedidas por el Congreso Constituyente" (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ August 10, 2011.
  30. "Decreto que expide las Leyes Constitucionales de la República Mexicana". 500 años de México en documentos. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-09. สืบค้นเมื่อ August 10, 2011.
  31. "Tratado definitivo de paz y amistad entre México y España" (PDF). 500 años de México en documentos. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ August 10, 2011.
  32. "Anastasio Bustamante". Federal Government of Mexico. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-27. สืบค้นเมื่อ August 10, 2011.
  33. 33.0 33.1 33.2 "Nicolás Bravo" (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ August 10, 2011.
  34. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ reeleccion3
  35. "Anastasio Bustamante". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  36. "Francisco Javier Echeverría asume la presidencia de la República". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  37. "Francisco Javier Echeverría". Presidencia de la Republica. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  38. "Decreto de la Junta de Representantes. Se declara Presidente de la República, a D. Antonio López de Santa-Anna". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  39. "Junta de Representantes o Consejo de los Departamentos". Instituto de Investigaciones Históricas (UNAM). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-19. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  40. "Efemérides Santa Anna". Secretaria de Educación Publica del D.F. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-03-29. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  41. "Ley. Se declara presidente constitucional de la República, á D. Antonio López de Santa-Anna". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  42. 42.0 42.1 "Efemérides Santa Anna". Secretaria de Educación Publica del D.F. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-03. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  43. "Canalizo, Valentín". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  44. "Decreto del senado. Se declara presidente interino de la República, á D. José Joaquín de Herrera". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  45. "Mariano Paredes". Presidencia de la Republica. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  46. 46.0 46.1 "Decreto del congreso extraordinario. Se declarará presidente interino á D. Mariano Paredes y Arrillaga". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  47. "Se concede permiso al presidente de la República, para mandar en persona las fuerzas de tierra". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  48. "Manifiesto de Mariano Salas y Valentín Gómez Farías". 500 años de México en documentos. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-25. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  49. "El General Mariano Salas toma posesión de la presidencia de la República". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  50. "Republica Federal" (PDF). El Viajero en México. p. 5. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  51. "Se declara vigente la Constitución de 1824". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  52. "Se declara que D. Valentín Gómez Farías queda en posesion de su encargo de vicepresidente de la República". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  53. "21 DE MARZO DE 1847". Biblioteca Digital. สืบค้นเมื่อ August 30, 2011.
  54. "Efemerides/Pedro María Anaya". Secretaria de Educacion Publica del D.F. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-02. สืบค้นเมื่อ September 3, 2011.
  55. "Desemejanzas entre el lider politico y el jefe militar" (PDF). Senate of Mexico. p. 2. สืบค้นเมื่อ September 3, 2011.[ลิงก์เสีย]
  56. "Se concede licencia al actual presidente para mandar el ejército, y se suprime la vicepresidencia de la República". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ September 3, 2011.
  57. "Pedro María de Anaya". Presidencia de la Republica. สืบค้นเมื่อ September 3, 2011.
  58. "Tropas mexicanas al mando de Pedro María Anaya y Manuel Rincón luchan contra las fuerzas al mando de Scott en Churubusco". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ September 3, 2011.
  59. "El Presidente de la República, a sus compatriotas". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ September 3, 2011.
  60. "Manuel de la Peña y Peña". Presidencia de la Republica. สืบค้นเมื่อ September 3, 2011.
  61. "El general Pedro María Anaya asume la presidencia de la República". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ October 6, 2011.
  62. "Herrera, José Joaquín de". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ July 19, 2012.
  63. "Tras reñidas elecciones, el general Mariano Arista asume pacíficamente la presidencia de la República". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ July 19, 2012.
  64. "Juan Bautista Ceballos asume el poder ejecutivo tras la renuncia del presidente Mariano Arista". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ July 19, 2012.
  65. "Lombardini asume la Presidencia". Memoria Política de México. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-22. สืบค้นเมื่อ July 19, 2012.
  66. "Santa Anna". Secretaria de Educacion Publica del D.F. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-03. สืบค้นเมื่อ July 19, 2012.
  67. "López de Santa Anna y Pérez Lebrón Antonio". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ July 19, 2012.
  68. "Símbolos patrios de los Estados Unidos Mexicanos". Secretaría de Relaciones Exteriores. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-20. สืบค้นเมื่อ July 26, 2012.
  69. 69.0 69.1 "Al triunfo del Plan de Ayutla, Santa Anna sale de México". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ July 26, 2012.
  70. "Martín Carrera". Gobierno Federal de Mexico. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-02-01. สืบค้นเมื่อ August 9, 2012.
  71. "El general Rómulo Díaz de la Vega asume de facto la presidencia de la República". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 9, 2012.
  72. "Juan Álvarez". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 9, 2012.
  73. "1855 Decreto del gobierno. Se nombra presidente de la República al general D. Juan Alvarez". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 9, 2012.
  74. "Ignacio Comonfort". Gobierno Federal de México. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-02-01. สืบค้นเมื่อ August 9, 2012.
  75. "Ignacio Comonfort asume la Presidencia". Memoria Política de México. สืบค้นเมื่อ August 9, 2012.
  76. "Juárez García Benito Pablo". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ April 29, 2013.
  77. "Es proclamado el Plan de Tacubaya, con el que los conservadores pretenden derogar la Constitución de 1857". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ April 29, 2013.
  78. "El Congreso declara que dejó de ser Presidente de la República don Ignacio Comonfort desde el 17 de diciembre de 1857". 500 años de México en documentos. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-26. สืบค้นเมื่อ April 29, 2013.
  79. "Tras desconocer a Comonfort, Félix María Zuloaga es nombrado presidente por el partido conservador". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ April 30, 2013.
  80. 80.0 80.1 "Asume la presidencia del gobierno conservador el general Manuel Robles Pezuela". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ April 30, 2013.
  81. "Plan de Navidad". Memoria Politica de México. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-20. สืบค้นเมื่อ April 30, 2013.
  82. "Zuloaga nombra presidente sustituto de la República a Miguel Miramón". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ April 30, 2013.
  83. "José Ignacio Pavón, presidente de la Suprema Corte, se encarga durante dos días del poder ejecutivo del gobierno conservador". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ April 30, 2013.
  84. "Toma posesión como presidente interino de la República, Miguel Miramón. Juárez sigue siendo el presidente legal". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ April 30, 2013.
  85. "Felix Maria Zuloaga". Chihuahua, México. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-26. สืบค้นเมื่อ April 30, 2013.
  86. "Se establece la regencia del Imperio mexicano". 500 años de México. สืบค้นเมื่อ April 30, 2013.
  87. "Acta de la primera reunión de la Junta Superior de Gobierno". 500 años de México. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-02. สืบค้นเมื่อ April 30, 2013.
  88. "Lerdo de Tejada Sebastián". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 1, 2013.
  89. "El Congreso declara la reelección de Lerdo de Tejada y José Ma. Iglesias se da a la rebeldía". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 1, 2013.
  90. "Porfirio Díaz asume el poder por primera vez". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 1, 2013.
  91. "El general Juan N. Méndez ocupa la presidencia en tanto Porfirio Díaz termina con los últimos reductos de las fuerzas de Iglesias y de Lerdo de Tejada". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 1, 2013.
  92. "Porfirio Díaz es nombrado presidente constitucional de la República". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 1, 2013.
  93. "El general Manuel González toma posesión como presidente constitucional". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 1, 2013.
  94. "Díaz Mori Porfirio". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 1, 2013.
  95. "León de la Barra Francisco". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 1, 2013.
  96. [https://web.archive.org/web/20131204122634/http://www.lorenzomeyer.org/Articulos-Revistas/38.pdf เก็บถาวร 2013-12-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  97. "Francisco I. Madero asume el cargo de la Presidente de la República". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 1, 2013.
  98. "Se consuma la traición: Huerta y Wilson firman el Pacto de la Embajada". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 1, 2013.
  99. "Por sólo cuarenta y cinco minutos, Pedro Lascuráin Paredes asume el cargo de presidente interino". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 2, 2013.
  100. "Victoriano Huerta asume la presidencia y rinde la protesta de ley ante los diputados". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 2, 2013.
  101. "Victoriano Huerta, vencido por las fuerzas constitucionalistas, renuncia a la Presidencia de la República". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 2, 2013.
  102. "FRANCISCO S. CARVAJAL". Bicentenario de México. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-27. สืบค้นเมื่อ May 2, 2013.
  103. "Eulalio Gutiérrez Ortiz asume la presidencia del gobierno convencionista". Memoria Politica de México. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 1, 2012. สืบค้นเมื่อ May 10, 2013.
  104. "El presidente provisional, nombrado por la Convención, Eulalio Gutiérrez, huye de México con los fondos de la Tesorería. Lo sucede Roque González Garza". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 10, 2013.
  105. "Francisco Lagos Cházaro se convierte en el último presidente del gobierno de la Convención". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 10, 2013.
  106. "Carranza Garza Venustiano". Bicentenario de México. สืบค้นเมื่อ May 2, 2013.
  107. "Adolfo de la Huerta asume presidencia provisional de la República". Bicentenario de México. สืบค้นเมื่อ May 2, 2013.
  108. "Obregón Salido Álvaro". Bicentenario de México. สืบค้นเมื่อ May 2, 2013.
  109. "Elías Calles Campuzano Plutarco". Bicentenario de México. สืบค้นเมื่อ May 2, 2013.
  110. "Portes Gil Emilio". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 10, 2013.
  111. "Pascual Ortiz Rubio sufre un atentado y resulta herido durante su toma posesión de la Presidencia de la República". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 10, 2013.
  112. "Ortíz Rubio renuncia a la Presidencia. Ejerció su mandato en el periodo del "Maximato" llamado así por el poder real ejercido por Calles". Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 10, 2013.
  113. "Rodríguez Abelardo L." Memoria Politica de México. สืบค้นเมื่อ May 10, 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้