รายพระนามพระมหากษัตริย์เยอรมนี

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

รายพระนามกษัตริย์และจักรพรรดิเยอรมนี (อังกฤษ: List of German monarchs) รายพระนามข้างล่างเป็นพระนามของพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิที่ปกครองเยอรมนีตั้งแต่การแยกตัวมาเป็นราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันออก ในปี ค.ศ. 843 จนกระทั่งการสิ้นสุดระบอบราชาธิปไตยในปี ค.ศ. 1918

กษัตริย์และจักรพรรดิเยอรมนี แก้

หมายเหตุ: พระนามจักรพรรดิเป็นอักษรตัวหนา

พระนาม ราชวงศ์ กษัตริย์ จักรพรรดิ สิ้นสมัย หมายเหตุ
ลุดวิจชาวเยอรมัน
(Ludwig II der Deutsche)
ราชวงศ์การอแล็งเฌียง 11 สิงหาคม ค.ศ. 843 23 สิงหาคม ค.ศ. 876 พระราชโอรสของจักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธาและพระราชนัดดาของชาร์เลอมาญ
ลุดวิจผู้เยาว์
(Ludwig III der Jüngere)
ราชวงศ์คาโรแล็งเชียง 28 สิงหาคม ค.ศ. 876 20 มกราคม ค.ศ. 882 พระราชโอรสของลุดวิจเดอะเยอรมัน; ปกครองราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันออก, อาณาจักรดยุคแห่งแซกโซนี, ตั้งแต่ ค.ศ. 880 อาณาจักรดยุคแห่งบาวาเรีย
คาโรมันแห่งบาวาเรีย
(Karlmann)
ราชวงศ์คาโรแล็งเชียง 28 สิงหาคม ค.ศ. 876 22 มีนาคม ค.ศ. 880 พระราชโอรสของลุดวิจเดอะเยอรมัน; ปกครองอาณาจักรดยุคแห่งบาวาเรีย; ตั้งแต่ ค.ศ. 877 กษัตริย์แห่งอิตาลี
คาร์ลเดอร์ดิคเคอ
(Karl III. der Dicke)
ราชวงศ์คาโรแล็งเชียง 28 สิงหาคม ค.ศ. 876 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 881 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 887 พระราชโอรสของลุดวิจเดอะเยอรมัน; ปกครองอาเลอมาเนีย, เรเธีย, ตั้งแต่ ค.ศ. 882 ราชอาณาจักรตะวันออกทั้งหมด
อาร์นุลฟแห่งคารินเทีย
(Arnulf von Kärnten)
ราชวงศ์คาโรแล็งเชียง 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 887 25 เมษายน ค.ศ. 896 8 ธันวาคม ค.ศ. 899 พระราชโอรสของคาโรมันแห่งบาวาเรีย
ลุดวิจดาสคินด์
(Ludwig IV das Kind)
ราชวงศ์คาโรแล็งเชียง 21 มกราคม ค.ศ. 900 20 สิงหาคม ค.ศ. 911 พระราชโอรสของอาร์นุลฟแห่งคารินเธีย
คอนราดที่ 1 แห่งเยอรมนี
(Konrad I)
ราชวงศ์คอนราด 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 911 23 ธันวาคม ค.ศ. 918  
ไฮน์ริชที่ 1
(Heinrich I der Vogler)
ราชวงศ์ออทโทเนียน 23 เมษายน ค.ศ. 919 2 กรกฎาคม ค.ศ. 936  
อาร์นุลฟดยุคแห่งบาวาเรีย
(Arnulf der Böse, Herzog von Bayern)
ลุทโพลดิง ค.ศ. 919 ค.ศ. 921 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ของไฮน์ริชที่ 1
จักรพรรดิออทโทที่ 1 มหาราช
(Otto I der Große)
ราชวงศ์ออทโทเนียน 7 สิงหาคม ค.ศ. 936 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 962 7 พฤษภาคม ค.ศ. 973 พระราชโอรสในไฮน์ริชเดอร์โวเกลอร์; กษัตริย์องค์แรกที่ได้รับการสวมมงกุฎที่มหาวิหารอาเคินตั้งแต่โลแธร์ที่ 1; สวมมงกุฎเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 961
จักรพรรดิออทโทที่ 2
(Otto II)
ราชวงศ์ออทโทเนียน 26 พฤษภาคม ค.ศ. 961 25 ธันวาคม ค.ศ. 967 7 ธันวาคม ค.ศ. 983 พระราชโอรสในออทโทที่ 1 มหาราช;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้ออทโทที่ 1 ค.ศ. 961-ค.ศ. 973;
สวมมงกุฎเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ระหว่างที่พระราชบิดายังทรงพระชนม์
จักรพรรดิออทโทที่ 3
(Otto III)
ราชวงศ์ออทโทเนียน 25 ธันวาคม ค.ศ. 983 21 พฤษภาคม ค.ศ. 996 21 มกราคม ค.ศ. 1002 พระราชโอรสในออทโทที่ 2 มหาราช
จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 2
(Heinrich II der Heilige)
ราชวงศ์ออทโทเนียน 7 มิถุนายน ค.ศ. 1002 26 เมษายน ค.ศ. 1014 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1024 พระราชนัดดาในไฮน์ริชที่ 1
จักรพรรดิคอนราดที่ 2
(Konrad II)
ราชวงศ์ซาเลียน 8 กันยายน ค.ศ. 1024 26 มีนาคม ค.ศ. 1027 4 มิถุนายน ค.ศ. 1039 พระราชปนัดดาในออทโทที่ 1 มหาราช
จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 3
(Heinrich III)
ราชวงศ์ซาเลียน 14 เมษายน ค.ศ. 1028 25 ธันวาคม ค.ศ. 1046 5 ตุลาคม ค.ศ. 1056 พระราชโอรสในจักรพรรดิคอนราดที่ 2;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้คอนราดที่ 2 ค.ศ. 1028-ค.ศ. 1039
จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 4
(Heinrich IV)
ราชวงศ์ซาเลียน 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1054 21 มีนาคม ค.ศ. 1084 31 ธันวาคม ค.ศ. 1105 พระราชโอรสในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 3;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้คอนราดที่ 2 ค.ศ. 1054-ค.ศ. 1056
รูดอล์ฟฟอนไรน์เฟลด์
(Rudolf von Rheinfelden)
ไรน์เฟลด์ 15 มีนาคม ค.ศ. 1077 15 ตุลาคม ค.ศ. 1080 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ของไฮน์ริชที่ 4
เฮอร์มันน์ฟอนซาล์ม
(Hermann von Luxemburg, Graf von Salm)
ซาล์ม 6 สิงหาคม ค.ศ. 1081 28 กันยายน ค.ศ. 1088 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ของไฮน์ริชที่ 4
คอนราดที่ 2 แห่งอิตาลี
(Konrad)
ราชวงศ์ซาเลียน 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1087 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1101 พระราชโอรสในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 4;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้ไฮน์ริชที่ 4 ค.ศ. 1087-ค.ศ. 1098,
กษัตริย์แห่งอิตาลี ค.ศ. 1093-ค.ศ. 1098, 1095-ค.ศ. 1101 ในการปฏิวัติ
จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 5
(Heinrich V)
ราชวงศ์ซาเลียน 6 มกราคม ค.ศ. 1099 13 เมษายน ค.ศ. 1111 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1125 พระราชโอรสในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 4;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้ไฮน์ริชที่ 4 ค.ศ. 1099-ค.ศ. 1105 บังคับให้พระราชบิดาสละราชสมบัติ
จักรพรรดิโลธาร์ที่ 3
(Lothar III)
ซุพพลิงเบอร์เกอร์ 30 สิงหาคม ค.ศ. 1125 4 มิถุนายน ค.ศ. 1133 4 ธันวาคม ค.ศ. 1137  
คอนราดที่ 3 แห่งเยอรมนี
(Conrad III)
โฮเฮนเสตาเฟน 7 มีนาคม ค.ศ. 1138 15 กุมภาพันธ์ 1152 พระราชนัดดาในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 4 (ทางพระราชมารดา);
เดิมกษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ของโลธาร์ที่ 3 ค.ศ. 1127-ค.ศ. 1135
ไฮน์ริช เบอเรงการ์
(Heinrich (VI))
โฮเฮนเสตาเฟน 30 มีนาคม ค.ศ. 1147 สิงหาคม? ค.ศ. 1150 พระราชโอรสในคอนราดที่ 3 แห่งเยอรมนี;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1147-ค.ศ. 1150
จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1
(Friedrich I Barbarossa)
โฮเฮนเสตาเฟน 4 มีนาคม ค.ศ. 1152 18 มิถุนายน ค.ศ. 1155 10 มิถุนายน ค.ศ. 1190 พระราชนัดดาในคอนราดที่ 3 แห่งเยอรมนี
จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 6
(Heinrich VI)
โฮเฮนเสตาเฟน 15 สิงหาคม ค.ศ. 1169 14 เมษายน ค.ศ. 1191 28 กันยายน ค.ศ. 1197 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรีดริชที่ 1;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1169-ค.ศ. 1190
จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2
(Friedrich II)
โฮเฮนเสตาเฟน ค.ศ. 1197 ค.ศ. 1197 พระราชโอรสในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 6;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1196
ฟิลิปแห่งชเวเบีย
(Philipp von Schwaben)
โฮเฮนเสตาเฟน 6 มีนาคม ค.ศ. 1198 21 สิงหาคม ค.ศ. 1208 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรีดริชที่ 1; กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ของออทโทที่ 4
จักรพรรดิออทโทที่ 4
(Otto IV von Braunschweig)
เวลฟ์ 29 มีนาคม ค.ศ. 1198 4 ตุลาคม ค.ศ. 1209 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1215 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ฟิลิปแห่งชเวเบีย; ต่อมาจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2; ถูกปลด ค.ศ. 1215; สิ้นพระชนม์ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1218
จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2
(Friedrich II)
โฮเฮนเสตาเฟน 5 ธันวาคม ค.ศ. 1212 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1220 26 ธันวาคม ค.ศ. 1250 พระราชโอรสในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 6;
กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ออทโทที่ 4 จนวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1215
ไฮน์ริชที่ 7 แห่งเยอรมนี
(Heinrich (VII))
โฮเฮนเสตาเฟน 23 เมษายน ค.ศ. 1220 15 สิงหาคม ค.ศ. 1235 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1220-ค.ศ. 1235
จักรพรรดิคอนราดที่ 4
(Konrad IV)
โฮเฮนเสตาเฟน พฤษภาคม ค.ศ. 1237 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1254 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1237-ค.ศ. 1250
ไฮน์ริช ราสเพ
(Heinrich Raspe)
เทอริงเกีย 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1246 16 กุมภาพันธ์ 1247 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ฟรีดริชที่ 2
เคานท์วิลเฮล์มที่ 2 แห่งฮอลแลนด์
(Wilhelm von Holland)
ฮอลแลนด์ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1247 28 มกราคม ค.ศ. 1256 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ฟรีดริชที่ 2 และ คอนราดที่ 4 ค.ศ. 1247-ค.ศ. 1254
ริชาร์ด เอิร์ลแห่งคอร์นวอลล์
(Richard von Cornwall)
ราชวงศ์แพลนทาเจเน็ท 13 มกราคม ค.ศ. 1257 2 เมษายน ค.ศ. 1272 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์อัลฟอนโซแห่งคาสตีล; ไม่มีอำนาจที่แท้จริง
อัลฟอนโซที่ 10 แห่งกัสติยา
(Alfons von Kastilien)
อันซาริด 1 เมษายน ค.ศ. 1257 ค.ศ. 1275 พระราชนัดดาในฟิลิป; กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ริชาร์ดเอิร์ลแห่งคอร์นวอลล์; ไม่มีอำนาจที่แท้จริง; ต่อมาถูกค้านโดยรูดอล์ฟที่ 1 แห่งเยอรมนี; สละสิทธิ์ ค.ศ. 1275, สิ้นพระชนม์ ค.ศ. 1284
รูดอล์ฟที่ 1 แห่งเยอรมนี
(Rudolf I von Habsburg)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 29 กันยายน ค.ศ. 1273 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1291  
อดอล์ฟแห่งนาซอ-ไวลบวร์ก
(Adolf von Nassau)
ราชวงศ์นาซอ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1292 23 มิถุนายน ค.ศ. 1298 ตามคำของนักประวัติศาสตร์ก่อนหน้าการเลือกตั้งของอดอล์ฟกษัตริย์คอนราดที่ 2 แห่งเท็คปกครองอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง
อัลเบร็คท์ที่ 1 แห่งเยอรมนี
(Albrecht I von Habsburg)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 24 มิถุนายน ค.ศ. 1298 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1308 พระราชโอรสในรูดอล์ฟที่ 1 แห่งเยอรมนี; กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์อดอล์ฟแห่งนาซอ-ไวลบวร์ก ค.ศ. 1298
จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 7
(Heinrich VII, Luxemburger)
ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 1308 13 มิถุนายน ค.ศ. 1311 24 สิงหาคม ค.ศ. 1313  
จักรพรรดิลุดวิจที่ 4
(Ludwig IV., der Bayer, Wittelsbacher)
วิทเทลส์บัค 20 ตุลาคม ค.ศ. 1314 17 มกราคม ค.ศ. 1328 11 ตุลาคม ค.ศ. 1347 พระราชนัดดาในรูดอล์ฟที่ 1 แห่งเยอรมนี; กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์เฟรเดอริคเดอะแฟร์ ค.ศ. 1314-ค.ศ. 1322
ฟรีดริชเดอะแฟร์
(Friedrich der Schöne, Habsburger)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 19 ตุลาคม ค.ศ. 1314/
5 กันยายน ค.ศ. 1325
28 กันยายน ค.ศ. 1322/
13 มกราคม ค.ศ. 1330
พระราชโอรสในอัลเบร็คท์ที่ 1 แห่งเยอรมนี;
กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ลุดวิจที่ 4 ค.ศ. 1314-ค.ศ. 1322;
กษัตริย์เกี่ยวข้องกับลุดวิจที่ 4 ค.ศ. 1325-ค.ศ. 1330
จักรพรรดิคาร์ลที่ 4
(Karl IV. von Luxemburg)
ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1346 5 เมษายน ค.ศ. 1355 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1378 พระราชนัดดาในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 7; กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ลุดวิจที่ 4 ค.ศ. 1346-ค.ศ. 1347
กึนเทอร์ฟอนชวาร์ซบวร์ก
(Günther von Schwarzburg)
ราชวงศ์ชวาร์ซบวร์ก 30 มกราคม ค.ศ. 1349 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1349 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์คาร์ลที่ 4
เวนสเลาส กษัตริย์แห่งชนโรมัน
(Wenceslaus, King of the Romans)
ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก 10 มิถุนายน ค.ศ. 1376 20 สิงหาคม ค.ศ. 1400 พระราชโอรสในจักรพรรดิคาร์ลที่ 4; กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1376-ค.ศ. 1378; ถูกปลด ค.ศ. 1400; สิ้นพระชนม์ ค.ศ. 1419
ฟรีดิชแห่งบรันสวิค-ลืนเนอบวร์ก
(Friedrich von Braunschweig und Lüneburg, Welfe)
บรันสวิค-ลืนเนอบวร์ก ค.ศ. 1400 ค.ศ. 1400 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์เวนสเลาส[ต้องการอ้างอิง]
รูเปิร์ตแห่งเยอรมนี
(Ruprecht von der Pfalz, Wittelsbacher)
วิทเทลส์บัค 21 สิงหาคม ค.ศ. 1400 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1410 พระราชปนัดดาในจักรพรรดิลุดวิจที่ 4
จักรพรรดิซีกิสมุนด์
(Sigismund von Luxemburg)
ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก 20 กันยายน ค.ศ. 1410/
21 กรกฎาคม ค.ศ. 1411
3 พฤษภาคม ค.ศ. 1433 9 ธันวาคม ค.ศ. 1437 พระราชโอรสในคาร์ลที่ 4
โยบสต์แห่งโมราเวีย
(Jobst von Mähren, Luxemburger)
ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก 1 ตุลาคม ค.ศ. 1410 8 มกราคม ค.ศ. 1411 พระราชนัดดาในคาร์ลที่ 4; กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ซีกิสมุนด์
สมเด็จพระเจ้าอัลเบร็คท์ที่ 2
(Albert II of Germany)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 18 มีนาคม ค.ศ. 1438 27 ตุลาคม ค.ศ. 1439 พระราชโอรสเขยของซีกิสมุนด์
จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3
(Friedrich III)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 2 กุมภาพันธ์ 1440 16 มีนาคม ค.ศ. 1452 19 สิงหาคม ค.ศ. 1493
จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1
(Maximilian I)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 16 กุมภาพันธ์ 1486 4 กุมภาพันธ์ 1508
จักรพรรดิเลือกตั้ง
12 มกราคม ค.ศ. 1519 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3; กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1486-ค.ศ. 1493; ใช้ตำแหน่งจักรพรรดิเลือกตั้งโดยการอนุมัติของพระสันตะปาปา ค.ศ. 1508
จักรพรรดิคาร์ลที่ 5
(Karl V)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 28 มิถุนายน ค.ศ. 1519 24 กุมภาพันธ์ 1530 3 สิงหาคม ค.ศ. 1556 พระราชนัดดาในจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1
จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1
(Ferdinand I)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 5 มกราคม ค.ศ. 1531 14 มีนาคม ค.ศ. 1558
จักรพรรดิเลือกตั้ง
25 กรกฎาคม ค.ศ. 1564 พระราชนัดดาในจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1; พระอนุชาในจักรพรรดิคาร์ลที่ 5; กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระเชษฐา ค.ศ. 1531-ค.ศ. 1556; กษัตริย์องค์สุดท้ายที่ได้รับการสวมมงกุฎที่มหาวิหารอาเคิน
จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2
(Maximilian II)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1562 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1564
จักรพรรดิเลือกตั้ง
12 ตุลาคม ค.ศ. 1576 พระราชโอรสในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1562-ค.ศ. 1564
จักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2
(Rudolf II)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 27 ตุลาคม ค.ศ. 1575 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1576
จักรพรรดิเลือกตั้ง
20 มกราคม ค.ศ. 1612 พระราชโอรสในจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1575-ค.ศ. 1576
จักรพรรดิมัททีอัส
(Matthias)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 13 มิถุนายน ค.ศ. 1612 13 มิถุนายน ค.ศ. 1612
จักรพรรดิเลือกตั้ง
20 มีนาคม ค.ศ. 1619 พระราชโอรสในจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2
จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 2
(Ferdinand II)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 28 สิงหาคม ค.ศ. 1619 28 สิงหาคม ค.ศ. 1619
จักรพรรดิเลือกตั้ง
15 กุมภาพันธ์ 1637 พระราชนัดดาในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1
จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3
(Ferdinand III)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 22 ธันวาคม ค.ศ. 1636 15 กุมภาพันธ์ 1637
จักรพรรดิเลือกตั้ง
2 เมษายน ค.ศ. 1657 พระราชโอรสในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 2;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1636-ค.ศ. 1637
แฟร์ดีนันด์ที่ 4 แห่งเยอรมนี
(Ferdinand IV)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1653 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1654 พระราชโอรสในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา
จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1
(Leopold I)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1658 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1658
จักรพรรดิเลือกตั้ง
5 พฤษภาคม ค.ศ. 1705 พระราชโอรสในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3
จักรพรรดิโยเซฟที่ 1
(Joseph I)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 23 มกราคม ค.ศ. 1690 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1705
จักรพรรดิเลือกตั้ง
17 เมษายน ค.ศ. 1711 พระราชโอรสในจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1; กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1690-ค.ศ. 1705
จักรพรรดิคาร์ลที่ 6
(Karl VI)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 27 ตุลาคม ค.ศ. 1711 27 ตุลาคม ค.ศ. 1711
จักรพรรดิเลือกตั้ง
20 ตุลาคม ค.ศ. 1740 พระราชโอรสในจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1
จักรพรรดิคาร์ลที่ 7
(Karl VII)
วิทเทลส์บัค 14 มกราคม ค.ศ. 1742 14 มกราคม ค.ศ. 1742
จักรพรรดิเลือกตั้ง
20 มกราคม ค.ศ. 1745 พระสวามีในมาเรีย อมาเลียแห่งออสเตรียพระราชธิดาในจักรพรรดิโยเซฟที่ 1
จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1
(Franz I)
ราชวงศ์ลอร์แรน 13 กันยายน ค.ศ. 1745 13 กันยายน ค.ศ. 1745
จักรพรรดิเลือกตั้ง
18 สิงหาคม ค.ศ. 1765 พระสวามีในจักรพรรดินีนาถมาเรีย เทเรซาพระราชธิดาในจักรพรรดิคาร์ลที่ 6
จักรพรรดิโยเซฟที่ 2
(Joseph II)
ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 27 มีนาคม ค.ศ. 1764 18 สิงหาคม ค.ศ. 1765
จักรพรรดิเลือกตั้ง
20 กุมภาพันธ์ 1790 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 และ จักรพรรดินีนาถมาเรีย เทเรซา; กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1764-ค.ศ. 1765
จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2
(Leopold II)
ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 30 กันยายน ค.ศ. 1790 30 กันยายน ค.ศ. 1790
จักรพรรดิเลือกตั้ง
1 มีนาคม ค.ศ. 1792 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 และ จักรพรรดินีนาถมาเรีย เทเรซา
จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2
(Franz II)
ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1792 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1792
จักรพรรดิเลือกตั้ง
6 สิงหาคม ค.ศ. 1806 พระราชโอรสในจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2; ยุบจักรวรรดิ; และจักรพรรดิแห่งออสเตรีย ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1835; สิ้นพระชนม์ ค.ศ. 1835

สมัยการปกครองของวิคคาร์ แก้

ระหว่างสมัยไร้กษัตริย์ (interregnum) อำนาจการปกครองตกไปอยู่ภายใต้อำนาจของวิคคาร์— พรินซ์อีเล็คเตอร์แห่งแซกโซนีในฐานะ “เคาน์พาลาไทน์แห่งแซกโซนี” ปกครองเยอรมนีทางตอนเหนือ และ อีเล็คเตอร์พาลาไทน์ ในฐานะ “เคาน์พาลาไทน์แห่งไรน์” ปกครองเยอรมนีทางตอนใต้ ความสับสนของอำนาจของอีเล็คเตอร์พาลาไทน์ระหว่างสงครามสามสิบปีที่นำไปสู่ความสับสนว่าผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจที่แท้จริงในปลายสมัยของจักรวรรดิ

สมาพันธรัฐเยอรมัน ค.ศ. 1806-ค.ศ. 1871 แก้

สมาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์ ค.ศ. 1806-ค.ศ. 1813 แก้

พระนาม ตำแหน่ง ราชวงศ์ เริ่ม สิ้นสมัย
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1,
จักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส
(Napoléon I, Kaiser der Franzosen)
ผู้พิทักษ์
สมาพันธรัฐแห่งไรน์
โบนาปาร์ต 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1806 19 ตุลาคม ค.ศ. 1813

สมาพันธรัฐเยอรมัน ค.ศ. 1815-ค.ศ. 1866 แก้

พระนาม ตำแหน่ง ราชวงศ์ เริ่ม สิ้นสมัย
จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1,
จักรพรรดิแห่งออสเตรีย
(Franz I, Kaiser von Österreich)
องค์ประธานแห่ง
สมาพันธรัฐเยอรมัน
ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 20 มิถุนายน ค.ศ. 1815 2 มีนาคม ค.ศ. 1835
จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1,
จักรพรรดิแห่งออสเตรีย
(Ferdinand I, Kaiser von Österreich)
องค์ประธานแห่ง
สมาพันธรัฐเยอรมัน
ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 2 มีนาคม ค.ศ. 1835 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1848
อาร์ดดยุคโยฮันน์แห่งออสเตรีย Imperial Vicar[1] ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1848 20 ธันวาคม ค.ศ. 1849
พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 4 แห่งปรัสเซีย
(Friedrich Wilhelm IV, König von Preußen)
“จักรพรรดิแห่งชนเยอรมัน” โฮเฮนโซลเลิร์น เลือกโดยสภาฟรังเฟิร์ตแห่งชาติเมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1849 แต่ไม่ยอมสวมมงกุฎเมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1849
พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 4 แห่งปรัสเซีย[2]
(Friedrich Wilhelm IV, König von Preußen)
องค์ประธานแห่ง
สหภาพเยอรมนี
โฮเฮนโซลเลิร์น 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1849 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1850
จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟ,
จักรพรรดิแห่งออสเตรีย
(Franz Joseph I, Kaiser von Österreich)
องค์ประธานแห่ง
สมาพันธรัฐเยอรมัน
ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1850 24 สิงหาคม ค.ศ. 1866

สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ ค.ศ. 1867-ค.ศ. 1871 แก้

พระนาม ตำแหน่ง ราชวงศ์ เริ่ม สิ้นสมัย
จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี,
กษัตริย์แห่งปรัสเซีย
(Wilhelm I, König von Preußen)
องค์ประธานแห่ง
สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ
โฮเฮนโซลเลิร์น 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1867 18 มกราคม ค.ศ. 1871[3]

จักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ. 1871-ค.ศ. 1918 แก้

พระนาม ตำแหน่ง ราชวงศ์ เริ่ม สิ้นสมัย
จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี,
กษัตริย์แห่งปรัสเซีย
(Wilhelm I, König von Preußen)
จักรพรรดิเยอรมัน โฮเฮนโซลเลิร์น 18 มกราคม ค.ศ. 1871 9 มีนาคม ค.ศ. 1888
ฟรีดริชที่ 3,
กษัตริย์แห่งปรัสเซีย
(Friedrich III, König von Preußen)
จักรพรรดิเยอรมัน โฮเฮนโซลเลิร์น 9 มีนาคม ค.ศ. 1888 15 มิถุนายน ค.ศ. 1888
จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี,
กษัตริย์แห่งปรัสเซีย
(Wilhelm II, König von Preußen)
จักรพรรดิเยอรมัน โฮเฮนโซลเลิร์น 15 มิถุนายน ค.ศ. 1888 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918

ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์เยอรมนี แก้

หลังจากการยุบราชบัลลังก์เยอรมนีในปี ค.ศ. 1918 แล้วประมุขของโฮเฮนโซลเลิร์นก็อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ปรัสเซียและเยอรมนี คำอ้างเหล่านี้ไม่สามารถแยกจากกันได้ตามรัฐธรรมนูญของจักรวรรดิเยอรมนีที่ระบุว่าผู้ใดที่เป็นจักรพรรดิปรัสเซียผู้นั้นก็เป็นจักรพรรดิเยอรมนีด้วย

ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ปรัสเซียและเยอรมันของราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์น
ภาพ พระนาม ช่วงเวลา หมายเหตุ
  วิลเฮล์มที่ 2 ค.ศ. 1918-ค.ศ. 1941 พำนักลี้ภัยอยู่ในเนเธอร์แลนด์
จนสิ้นพระชนม์
  เจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซีย ค.ศ. 1941-ค.ศ. 1951
  เจ้าชายลุยส์ แฟร์ดีนันด์ เจ้าชายแห่งปรัสเซีย ค.ศ. 1951-ค.ศ. 1994
  เกออร์ค ฟรีดริช เจ้าชายแห่งปรัสเซีย ตั้งแต่ ค.ศ. 1994

อ้างอิง แก้

  1. เลือกโดยสภาฟรังเฟิร์ตแห่งชาติ ให้เป็น Imperial Vicar ของ German Reich (German Reich) สมาพันธรัฐเยอรมันได้รับการยุบ
  2. Frederick William IV and the Prussian Monarchy 1840-1862, by David E. Barclay, (Oxford, 1995)
  3. He was proclaimed German Emperor on that day.

ดูเพิ่ม แก้