รายพระนามผู้ปกครองมอลเดเวีย

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

รายพระนาม แก้

เจ้าชายแห่งมอลเดเวีย แก้

ราชวงศ์ดรากอส แก้

พระรูป พระนาม เริ่มรัชกาล สิ้นสุดรัชกาล หมายเหตุ
  ดรากอส ราว 1347 ราว 1354 ได้รับการอธิบายเป็นประมุขพระองค์แรก ๆ ของมอลเดเวีย เขาถูกส่งมาในนามของพระเจ้าหลุยส์ที่ 1 แห่งฮังการี เพื่อสร้างทางป้องกัน จักรวรรดิกระโจมทอง ณ ดินแดนที่เขาปกครองอยู่
ซาส c. 1354 c. 1363 พระราชโอรสในดรากอส
บาลก์ c. c. พระราชโอรสในซาส

ราชวงศ์บอกดาน-มูสาต แก้

พระรูป พระนาม เริ่มรัชกาล สิ้นรัชกาล พระชายา หมายเหตุ
  บอกดานที่ 1 ผู้สถาปนา c. 1359 1367 มาเรีย
3 พระองค์
ถอดซาสออกจากราชสมบัติ
เปตรูที่ 1 1367 กรกฎาคม 1368 มิได้อภิเษกสมรส พระราชนัดดาในบอกดานที่ 1 [1]
  แลทซู กรกฎาคม 1368 1375 อันนา
ก่อน 1372
1 พระองค์
พระราชโอรสในบอกดานที่ 1 , ถอดเปตรูที่ 1จากราชสมบัติ [1]
  เปตรูที่ 2 มูสาต 1375 ธันวาคม 1391 โซเฟียแห่งลิทัวเนีย
1387
ไร้รัชทายาท

โอลก้าแห่งวอร์ซอ
1388
ไร้รัชทายาท
พระโอรสในคอสเทีย
  โรแมนที่ 1 ธันวาคม 1391 มีนาคม 1394 อะนัสตะเซีย
3 พระองค์
พระโอรสในคอสเทีย
  สเตฟานที่ 1 มีนาคม 1394 28 พฤศจิกายน 1399 มิได้อภิเษกสมรส‘’ พระราชโอรสในโรแมนที่ 1
ลูกา (จอร์จที่ 1) 28 พฤศจิกายน 1399 29 มิถุนายน 1400 มิได้อภิเษกสมรส พระราชโอรสในโรแมนที่ 1, ถูกถอดจากราชสมบัติโดยการแทรกแซงของ เจ้าชายมีร์เซียที่ 1 แห่งวอลลาเชีย
  อเล็กซานดรูที่ 1 ผู้ดีงาม 29 มิถุนายน 1400 1 มกราคม 1432 มาร์กาเรตาแห่งโลซองคส์
1394
2 พระองค์

อันนา เนอักซาแห่งโปดอลสก์
1405
3 พระองค์

รินกาลาแห่งลิทัวเนีย
1419
(ทรงหย่า 13 ธันวาคม 1421)
ไร้รัชทายาท

มารีนา บราตุล
1421
3 พระองค์
พระราชโอรสในโรแมนที่ 1, ได้รับการแต่งตั้งโดยเจ้าชายมีร์เซียที่ 1 แห่งวอลลาเชีย
อิเลียสที่ 1 1 มกราคม 1432 ตุลาคม 1433 มาเรีย โอชานกีแห่งลิทัวเนีย
23 ตุลาคม 1425
3 พระองค์
พระราชโอรสในอเล็กซานดรูผู้ดีงาม; รัชสมัยแรก
สเตฟานที่ 2 ตุลาคม 1433 4 สิงหาคม 1435 มิได้อภิเษกสมรส พระราชโอรสนอกกฎหมายในอเล็กซานดรูผู้ดีงาม; รัชสมัยแรก (ยังคงปกครองโดยพฤตินัยถึง กันยายน 1434)
อิเลียสที่ 1 4 สิงหาคม 1435 พฤษภาคม 1443 มาเรีย โอลชานกีแห่งลิทัวเนีย
23 ตุลาคม 1425
3 พระองค์
รัชสมัยที่ 2, ทรงราชย์ร่วมกับสเตฟานที่ 2
สเตฟานที่ 2 4 สิงหาคม 1435 13 กรกฎาคม 1447 มิได้อภิเษกสมรส รัชสมัยที่ 2, 4 สิงหาคม 1435 – พฤษภาคม 1443 ทรงราชย์ร่วมกับอิลเลียส; พฤษภาคม 1444–1445 ทรงราชย์ร่วมกับเปตรูที่ 3
เปตรูที่ 3 พฤษภาคม 1444 1445 พระขนิษฐาในยาโนส ฮุนยาดี
ก่อน 1445
ไร้รัชทายาท
รัชสมัยแรก, ทรงราชย์ร่วมกับสเตฟานที่ 2
โรแมนที่ 2 13 กรกฎาคม 1447 22 สิงหาคม 1447 มิได้อภิเษกสมรส พระราชโอรสในอิลเลียส; รัชสมัยแรก
เปตรูที่ 3 22 สิงหาคม 1447 23 ธันวาคม 1447 พระขนิษฐาใน ยาโนส ฮุนยาดี
ก่อน 1445
ไร้รัชทายาท
รัชสมัยที่ 2
โรแมนที่ 2 23 ธันวาคม 1447 ระหว่าง 23 กุมภาพันธ์ และ 5 เมษายน 1448 มิได้อภิเษกสมรส‘’ รัชสมัยที่ 2
เปตรูที่ 3 5 April 1448 10 ตุลาคม 1448 พระขนิษฐาใน ยาโนส ฮุนยาดี
ก่อน 1445
ไร้รัชทายาท
รัชสมัยที่ 3
ซูร์ปอร์ เด โมนอสโล
(มิใช่ขัติยวงศ์)
10 ตุลาคม 1448 ธันวาคม 1448 ไม่ปรากฏนาม มิใช่ขัตติยวงศ์ เป็นขุนนางฮังการีที่กำเนิดในโครเอเชีย เป็นแม่ทัพของยาโนส ฮุนยาดีซึ่งถูกส่งมาช่วยเปดรูที่ 3 ในการชิงราชสมบัติจากโรแมนที่ 2 แต่เปดรูสิ้นพระชนม์หลังก่อการสำเร็จเพียง 2 เดือน ซูปอร์สืบราชสมบัติต่อมา พระนามจริง Tub Voivode ถูกกล่าวถึงโดย กริกอร์ อูเรเช
อเล็กซานดรูที่ 2 ธันวาคม 1448 12 มกราคม 1449 มิได้อภิเษกสมรส พระราชโอรสในอิลเลียสที่ 1; รัชสมัยแรก
  บอกดานที่ 2 12 มกราคม 1449 15 ตุลาคม 1451 โอลเทีย
ก่อน 1433
6 พระองค์
พระภาติยะในอเล็กซานดรูผู้ดีงาม.
  เปตรูที่ 4 อารอน 15 ตุลาคม 1451 24 กุมภาพันธ์ 1452 ไม่ปรากฏ
ก่อน 1455
1 พระองค์
พระโอรสนอกสมรสในอเล็กซานดรูผู้ดีงาม; รัชสมัยแรก
อเล็กซานดรูที่ 2 24 กุมภาพันธ์ 1452 22 สิงหาคม 1454 มิได้อภิเษกสมรส รัชสมัยที่ 2
  เปตรูที่ 4 อารอน 22 สิงหาคม 1454 ระหว่าง 8 ธันวาคม 1454 และ 8 กุมภาพันธ์ 1455 ไม่ปรากฏนาม
ก่อน 1455
1 พระองค์
รัชสมัยที่ 2
อเล็กซานดรูที่ 2 8 กุมภาพันธ์ 1455 25 มีนาคม 1455 มิได้อภิเษกสมรส รัชสมัยที่ 3
  เปตรูที่ 4 อารอน 25 มีนาคม 1455 12 เมษายน 1457 ไม่ปรากฏนาม‘’
before 1455
1 พระองค์
รัชสมัยที่ 3
  สเตฟานที่ 3 มหาราช 12 เมษายน 1457 2 กรกฎาคม 1504 ยูโดเกีย โอเลลคอฟนาแห่งลิทัวเนีย
5 กรกฎาคม 1463
ซูเซอาวา
3 พระองค์

มาเรีย อาซานินา พาไลโอโลจินาแห่งโกเทีย
14 กันยายน 1472
ซูเซอาวา
4 พระองค์

มาเรีย วอยชิตาแห่งวอลลาเชีย
1478
3 พระองค์
พระราชโอรสในบอกดานที่ 2 ในรัชกาลนี้มอลดาเวียเจริญถึงขีดสุด
  บอกดานที่ 3 ราชาตาเดียว 2 กรกฎาคม 1504 22 เมษายน 1517 อะนัสตะเซีย
1510
ไร้รัชทายาท

รูซานดราแห่งวัลลาเชีย
21 กรกฎาคม 1513
ไร้รัชทายาท
พระราชโอรสใน สเตฟานที่ 3 มหาราช;
ลูกา อาร์บอเร
(สำเร็จราชการ)
22 เมษายน 1517 1523 ไม่ปรากฏนาม นายประตูแห่งซูเกอาวา สำเร็จราชการในพระนามสเตฟานที่ 4
  สเตฟานที่ 4 ผู้เยาว์ 1523 14 มกราคม 1527 สตานาแห่งวอลลาเชีย
1524
ไร้รัชทายาท
พระราชโอรสในบอกดานที่ 3; บางทีเรียกว่า Ștefăniță
  เปตรูที่ 5 ราเรส 14 มกราคม 1527 14 กันยายน 1538 มาเรีย
ก่อน 1529
4 พระองค์

เอเลนาแห่งเซอร์เบีย
1530
4 พระองค์
พระราชโอรสนอกกฎหมายในสเตฟานมหาราช, รัชสมัยแรก
สเตฟานที่ 5 ลาคุสตา 21 กันยายน 1538 20 ธันวาคม 1540 ชิอาจนา
ก่อน 1540
2 พระองค์
พระราชนัดดาใน สเตฟานมหาราช
อเล็กซานดรูที่ 3 ราชาปีศาจ 21 ธันวาคม 1540 9 หรือ 16 กุมภาพันธ์ 1541 ‘มิได้อภิเษกสมรส’ พระราชโอรสในบอกดานที่ 3
  เปตรูที่ 5 ราเรส 9 or 16 กุมภาพันธ์ 1541 2 or 3 กันยายน 1546 มาเรีย
ก่อน 1529
4 พระองค์

เอเลนาแห่งเซอร์เบีย
1530
4 พระองค์
รัชสมัยที่ 2
  อิลเลียสที่ 2 ราเรส 2 หรือ 3 กันยายน 1546 30 พฤษภาคม 1551 มิได้อภิเษกสมรส‘’ พระราชโอรสองค์ใหญ่ในเปตรู ราเรส
  สเตฟานที่ 6 ราเรส 30 พฤษภาคม 1551 1 กันยายน 1552 มิได้อภิเษกสมรส‘’ พระราชโอรสองค์รอในเปตรู ราเรส
ยอนที่ 1 โจลเดอา ระหว่าง 4 และ 12 กันยายน 1552 ระหว่าง 4 และ 12 กันยายน 1552 มิได้อภิเษกสมรส‘’ มิใช่ขัติยวงศ์. ปกครองสองหรือสามวันใน1552.
  อเล็กซานดรูที่ 4 ลาปุสเนอานู ระหว่าง 4 และ 12 กันยายน 1552 30 พฤศจิกายน 1561 รูซานดราแห่งมอลดาเวีย
มกราคม 1556
14 พระองค์
พระราชโอรสในบอกดานที่ 3, พระอนุชาในสเตฟานที่ 4; รัชสมัยแรก
  ยอนที่ 2 ยาคอบ เฮอราคลิด
(Jacob Heraclides)
18 พฤศจิกายน 1561 9 พฤศจิกายน 1563 A illegitimate daughter of Mircea IV of Wallachia
no children
The Despot Vodă, มิใช่ขัติยวงศ์.
สเตฟานที่ 7 ทอมซา 9 สิงหาคม 1563 ระหว่าง 20 กุมภาพันธ์และ 10 มีนาคม 1564 ไม่ปรากฏนาม‘’
อย่างน้อย 2 พระองค์
มิใช่ขัติยวงศ์
  อเล็กซานดรูที่ 4 ลาปุสเนอานู ระหว่าว 20 กุมภาพันธ์และ10 มีนาคม 1564 9 มีนาคม 1568 รูซานดราแห่งมอลดาเวีย
มกราคม 1556
14 พระองค์
รัชสมัยที่ 2
  รูซานดราแห่งมอลดาเวีย
(สำเร็จราชการ)
9 มีนาคม 1568 พฤศจิกายน 1570 อเล็กซานดรูที่ 4 ลาปุสเนอานู
มกราคม 1556
14 พระองค์
พระชายาม่ายในอเล็กซานเดอร์ที่ 4 สำเร็จราชการแทนพระราชโอรส
  บอกดานที่ 4 พฤศจิกายน 1570 15 กุมภาพันธ์ 1572 A princess from the Paniczewsk family
1571
1 พระองค์
พระราชโอรสในอเล็กซานเดอร์ที่ 4
  ยอนที่ 3 ผู้โหดร้าย 15 กุมภาพันธ์ 1572 11 มิถุนายน 1574 มาเรีย เซมิโอนอฟนาแห่งรอสตอฟ
1552
มอสโคว์
2 พระองค์
พระราชโอรสในสเตฟานที่ 4; บางทีเรียกขานว่า cel Viteaz (ผู้กล้าหาญ)

ราชวงศ์บาซารับ (สายดรากุเลสติ ) และ ราชวงศ์บอกดาน-มูสาต แก้

พระรูป พระนาม เริ่มรัชกาล สิ้นสุดรัชกาล ราชวงศ์ Remarks
  เปตรูที่ 6 ผู้ขาเสีย 1574 1577 ดรากุเลสติ รัชสมัยแรก
  ยอนที่ 4 โพทโคอาวา พฤศจิกายน 1577 ธันวาคม 1577 Hetman, also called Ivan Pidkova, Nicoară Potcoavă or Ivan Sarpega. Non-dynastic.
  เปตรูที่ 6 ผู้ขาเสีย 1578 1579 ดรากุเลสติ รัชสมัยที่ 2
ยอนที่ 5 ซาซุล 1579 1582 บอกดาน-มูสาต พระรโอรสนอกสมรสในเปตรู ราเเรส
  เปตรูที่ 6 ผู้ขาเสีย 1582 1591 ดรากุเลสติ รัชสมัยที่ 3
อารอนที่ 1 ทรราชย์ 1591 1592 บอกดาน-มูสาต พระราชโอรสในอเล็กซานดรู ลาปูสเนอานู; รัชสมัยแรก
อเล็กซานดรูที่ 5 ผู้กระทำผิด 1592 1592 บอกดาน-มูสาต พระราชโอรสบอกดานที่ 4; ทรงปกครองวอลลาเคียร่วมด้วย (1592–1593)
เปตรูที่ 7 คาซากุล 1592 1592 บอกดาน-มูสาต พระราชโอรสในอเล็กซานเดอร์ที่ 4
อารอนที่ 1 ทรราชย์ 1592 1595 บอกดาน-มูสาต รัชสมัยที่ 2
  สเตฟานที่ 8 ราซวาน 1595 1595

ราชวงศ์บาซารับ (สายดรากุเลสติ) และ โมวิเลสติ แก้

Portrait Ruler Began Ended Family Remarks
  เยเรเมีย โมวิลา 1595 1600 โมวิเลสติ พระราชนัดดาในเปตรู ราเรส รัชสมัยแรก
  มิไฮที่ 1 วิเตซุบ
(ไมเคิลผู้กล้าหาญ)
1600 1600 ดรากุเลสติ ปกครอง วอลลาเคีย (1593–1600)และทรานซิลเวเนีย (1599–1600)
  เยเรเมีย โมวิลา 1600 1606 โมวิเลสติ รัชสมัยที่ 2
  ซีเมียน โมวิลา 1606 1607 โมวิเลสติ] พระอนุชา
มิไฮที่ 2 โมวิลา 1607 1607 โมวิเลสติ พระราชโอรสในเยเรเมีย โมวิลา; รัชสมัยแรก
คอนสแตนตินที่ 1 โมวิลา 1607 1607 โมวิเลสติ พระราชโอรสในเยเรเมีย โมวิลา; ภายใต้สำเร็จราชการของพระชนนี เอลิซาเบต้า โซมอร์ทานี เดอ โลซงซ์; รัชสมัยแรก
มิไฮที่ 2 โมวิลา 1607 1607 โมวิเลสติ รัชสมัยที่ 2
คอนสแตนตินที่ 1 โมวิลา 1607 1611 โมวิเลสติ ภายใต้สำเร็จราชการของพระชนนี; รัชสมัยที่ 2
  สเตฟานที่ 9 ทอมซา 1611 1615 รัชสมัยแรก
อเล็กซานดรูที่ 6 โมวิลา 1615 1616 โมวิเลสติ
  ราดู มีห์เนีย 1616 1619 ดรากุเลสติ รัชสมัยแรก
  กาสปาร์ กราซีอานี 1619 1620

หลายราชวงศ์ แก้

พระรูป พระนาม เริ่มรัชกาล สิ้นรัชกาล ตระกูล หมายเหตุ
อเล็กซานดรูที่ 7 อีเลียส 1620 1621 บอกดาน-มูสาต พระภาคิไนยในเปตรูที่ 6, อารอน ติรานุลและบอกดานที่ 4; รัชสมัยแรก
  สเตฟานที่ 9 ทอมซา 1621 1623 รัชสมัยที่ 2
  ราดู มีห์เนีย 1623 1626 ดรากุเลสติ รัชสมัยที่ 2
  มิรอน บาร์นอฟสชี-โมวิลา 1626 1629 โมวิเลสติ รัชสมัยแรก
อเล็กซานดรูที่ 8 โคโคนุล
(อเล็กซานเดอร์ ยุวกษัตริย์)
1626 1629 ดรากุเลสติ รัชสมัยแรก
โมอิเซ โมวิลา 1630 1631 โมวิเลสติ รัชสมัยแรก
อเล็กซานดรูที่ 7 อีเลียส 1631 1633 บอกดาน-มูสาต รัชสมัยที่ 2
  มิรอน บาร์นอฟสชี-โมวิลา 1633 1633 โมวิเลสติ รัชสมัยที่ 2
โมอิเซ โมวิลา 1633 1634 โมวิเลสติ รัชสมัยที่ 2
  วาซิล ลูปู 1634 1653 ลูปู รัชสมัยแรก
  จอร์จที่ 2 สเตฟาน 1653 1653 รัชสมัยแรก
  วาซิล ลูปู 1653 1653 ลูปู รัชสมัยที่ 2
  จอร์จที่ 2 สเตฟาน 1653 1658 รัชสมัยที่ 2
  จอร์จที่ 3 จิกา 1658 1659 จิกา
คอนสแตนติน เซอร์บาน 1659 1659 รัชสมัยแรก
  สเตฟานที่ 10 ลูปู 1659 1661 บางที มีการขานพระนามว่า Papură-Vodă (Bullrush Voivode); รัชสมัยแรก
  คอนสแตนติน เซอร์บาน 1661 1661 รัชสมัยที่ 2
  สเตฟานที่ 10 ลูปู 1659 1661 รัชสมัยที่ 2
ยุสทราที ดาบิจา 1661 1665
  จอร์จที่ 4 ดูกา 1665 1666 ดูกา รัชสมัยแรก
  อิเลียสที่ 3 อเล็กซานดรู 1666 1668 บอกดาน-มูสาต ประมุขในราชวงศ์บอกดาน-มูสาตพระองค์สุดท้ายที่ปกครองมอลเดเวีย; พระราชโอรสในอเล็กซานดรูที่ 7
  จอร์จที่ 4 ดูกา 1668 1672 ดูกา รัชสมัยที่ 2
สเตฟานที่ 11 เปตริเซซู 1672 1673 เปตริเซซู รัชสมัยแรก
ดูมิทราสกู คันตาคูซิโน 1673 1673 คันตาคูแซน รัชสมัยแรก
สเตฟานที่ 11 เปตริเซซู 1673 1674 เปตริเซซู รัชสมัยที่ 2
ดูมิทราสกู คันตาคูซิโน 1674 1675 คันตาคูแซน รัชสมัยที่ 2
  อันโตนี รูเซต 1675 1678 โรเซตติ
  จอร์จที่ 4 ดูกา 1678 1683 ดูกา รัชสมัยที่ 4
สเตฟานที่ 11 เปตริเซซู 1683 1684 รัชสมัยที่ 3
ดูมิทราสกู คันตาคูซิโน 1684 1685 คันตากูแซน รัชสมัยที่ 3
  คอนสแตนติน คันเตมีร์ 1685 1693 คันเตมิเรสติ
  ดิมิทรี คันเตมีร์ 1693 1693 คันเตมิเรสติ รัชสมัยแรก; ออตโตมันถอดจากราชสมบัติ
คอนสแตนติน ดูกา 1693 1695 ดูกา รัชสมัยแรก
  อันติโอ คันเตมีร์ 1695 1700 คันเตมิเรสติ รัชสมัยแรก
คอนสแตนติน ดูกา 1700 1703 ดูกา รัชสมัยที่ 2
มุขมนตรี
ยอน บูฮุส
1703 1703 สมัยแรก
  มิไฮที่ 3 ราโกวิตา 1703 1705 ราโกวิตา รัชสมัยแรก
  อันติโอ คันเตมีร์ 1705 1707 คันเตมิเรสติ รัชสมัยที่ 2
  มิไฮที่ 3 ราโกวิตา 1707 1709 ราโกวิตา รัชสมัยที่ 2
มุขมนตรี
ยอน บูฮุส
1709 1710 สมัยที่ 2
  นิโคเล มาฟโรคอร์ดาต 1709 1710 มาฟโรคอร์ดาโต รัชสมัยแรก
  ดีมีทรี คันเตมีร์ 1710 1711 คันเตมิเรสติ รัชสมัยที่ 2

พานาริโอต (1711–1821) แก้

พระรูป พระนาม เริ่มรัชกาล สิ้นรัชกาล ตระกูล หมายเหตุ
ผู้ว่าการ
ลูปู คอสตาชี
1711 1711
  ยอนที่ 1 มาฟโรคอร์ดาต 1711 1711 มาฟโรคอร์ดาโต
  นิโคเล มาฟโรคอร์ดาต 1711 1715 มาฟโรคอร์ดาโต รัชสมัยที่ 2
  มิไฮที่ 3 ราโกวิตา 1715 1726 ราโกวิตา รัชสมัยที่ 3
  กริกอร์ที่ 2 จิกา 1726 1733 จิกา รัชสมัยแรก
  คอนสแตนติน มาฟโรคอร์ดาต 1733 1735 มาฟโรคอร์ดาโต รัชสมัยแรก
  กริกอร์ที่ 2 จิกา 1735 1739 จิกา รัชสมัยที่ 2
ภายใต้รัสเซีย 1739 1739 สงครามรัสเซีย ออสเตรีย ตุรกี (1735–1739)
  Beth Gait 1739 1741 จิกา รัชสมัยที่ 3
  คอนสแตนติน มาฟโรคอร์ดาต 1741 1743 มาฟโรคอร์ดาโต รัชสมัยที่ 2
ยอนที่ 2 มาฟโรคอร์ดาต 1743 1747 มาฟโรคอร์ดาโต พระโอรสในนิโกเล มาฟโรคอร์ดาต และพระอนุชาใน คอนแสตนติน มาฟโรคอร์ดาต
  กริกอร์ที่ 2 จิกา 1747 1748 จิกา รัชสมัยที่ 4
  คอนสแตนติน มาฟโรคอร์ดาต 1748 1749 มาฟโรคอร์ดาโต รัชสมัยที่ 3
ยอร์ดาช สตาฟราจี 1749 1749
คอนสแตนติน ราโกวิตา 1749 1753 ราโกวิตา รัชสมัยแรก
  มาเธ จิกา 1753 1756 จิกา
คอนสแตนติน ราโกวิตา 1756 1757 ราโกวิตา รัชสมัยที่ 2
  สการ์ลัต จิกา 1757 1758 จิกา
  ยอน เธโอดอร์ คัลลิมาจิ 1758 1761 คัลลิมาจิ
  กริกอร์ คัลลิมาจิ 1761 1764 คัลลิมาจิ รัชสมัยแรก
  กริกอร์ที่ 3 จิกา 1764 1767 จิกา รัชสมัยแรก
  กริกอร์ คัลลิมาจิ 1767 1769 คัลลิมาจิ รัชสมัยที่ 2
  คอนสแตนติน มาฟโรคอร์ดาต 1769 1769 มาฟโรคอร์ดาโต รัชสมัยที่ 4
ภายใต้รัสเซีย 1769 1774 สงครามรัสเซีย-ตุรกี (1768–1774)
  กริกอร์ที่ 3 จิกา 1774 1777 จิกา รัชสมัยที่ 2
  คอนสแตนติน โมรูซี 1777 1782 มูรูซี
อเล็กซานดรู มาฟโรคอร์ดาต เดลิเบย์ 1782 1785 มาฟโรคอร์ดาโต
อเล็กซานดรู ทาฟโรคอร์ดาต ฟิราริส 1785 1786 มาฟโรคอร์ดาโต
  อเล็กซานดรู ยิปซิลันติ 1786 1788 ยิปซิลันติ
ภายใต้ออสเตรีย 1787 1791 ผู้บัญชาการทหาร: เจ้าชายโจเซียสแห่งแซ็กซ์ โคบูร์ก
  อีมานูเอล จีอานี รูเซต 1788 1789 โรเซตติ บางที ขานพระนามว่า มาโนเล หรือ มาโนลาเช
ภายใต้รัสเซีย 1788 1791 สงครามรัสเซีย-ตุรกี 1787–1792)
  อเล็กซานดรู โมรูซี 1792 1792 มูรูซี รัชสมัยแรก
มิไฮ ซูตู 1793 1795 ซูต์ซอส บางที ขานพระนามว่า ดราโก
  อเล็กซานดรู คัลลิมาจี 1795 1799 คัลลิมาจี
  คอนสแตนติน ยิปซิลันติ 1799 1801 ยิปซิลันติ
  อเล็กซานดรู ซูตู 1801 1802 ซูต์โซส
มุขมนตรี
ยอร์ดาช คอนตา
1802 1802
  อเล็กซานดรู โมรูซี 1802 1802 มูรูซี รัชสมัยที่ 2
  สการ์ลัต คัลลิมาจี 1806 1806 คัลลิมาจี รัชสมัยแรก
  อเล็กซานดรู โมรูซี 1806 1807 มูรูซี รัชสมัยที่ 3
ภายใต้รัสเซีย 1806 1812 สงครามรัสเซีย-ตุรกี (1806–1812)
เบสซาราเบีย ถูกปกครองโดย จักรวรรดิรัสเซีย ใน 1812.
(ดูเพิ่มที่ ประธานาธิบดีแห่งมอลโดวา, สำหรับผู้ปกครองมอลโดวา, ส่วนหนึ่งของดินแดนซึ่งได้รับเอกราชในศตวรรษที่ 20)
อเล็กซานดรู ฮันเกอร์ลี 1807 1807
  สการ์ลัต คัลลิมาจี 1807 1810 คัลลิมาจี รัชสมัยที่ 2
รัสเซียปลดจากตำแหน่ง
ผู้ว่าการ
ยอร์ดาช รูเซต-รอซโนวานู
1807 1807 โรเซตติ
  ผู้ว่าการ มหานคร
เวเนียมิน คอสตาเช
1807 1812 สมัยแรก
  สการ์ลัต คัลลิมาจี 1812 1819 คัลลิมาจี รัชสมัยที่ 3
  มิไฮ ซูตู 1819 1821 ซูต์โซส
Stolnici
Manu and Rizos-Nerulos
1819 1819
  ผู้ว่าการ มหานคร
เวเนียมิน คอสตาเช
1821 1821 สมัยที่ 2
  Filiki Eteria occupation 1821 1821 ผู้บัญชาการกองทัพ: อเล็กซานเดอร์ ยิปซิลันติส
  ผู้ว่าการ
สเตฟาน โบโจริดี
(Ștefan Vogoride)
1821 1822
  ยอน สโตร์ดซา 1822 1828 สโตร์ดซา
ภายใต้รัสเซีย 1828 1834 ผู้บัญชาการกองทัพ: เฟโอดอร์ พาห์เลน, ปียอร์ต เซบตูกิน, และ พาเวล กิเซเยฟ
รัฐบาลภายใต้รัฐธรรมนูญ (1832–1856)
  มิไฮ สโตร์ดซา 1834 1849 สโตร์ดซา
  กริกอร์ อเล็กซานดรู จิกา 1849 1853 จิกา สมัยแรก
ภายใต้รัสเซีย 1853 1854 สงครามไครเมีย
  กริกอร์ อเล็กซานดรู จิกา 1854 1856 จิกา สมัยที่ 2
รัฐในอารักขาสถาปนาตามสนธิสัญญาปารีส (1856–1859)
คณะบริหารพิเศษ‘’ 1856 1856
  ผู้ว่าการ
เธโอดอร์ บาลส์
1856 1857 บาลส์
  ผู้ว่าการ
นิโคเล โวโกริด
1857 1858 โบโกริด
คณะผู้ว่าการ 1858 1859 สเตฟาน คาตาร์กิว, วาซิล สตูร์ดซา and อะนัสตาซี ปานู
(คาตาร์กิวลาออกใน ค.ศ. 1858 ยอน เอ คานตากูซิโน ดำรงตำแหน่งแทน)
  อเล็กซานเดอร์ จอห์น คูซา 1859 1862 ทรงราชย์ที่ วอลลาเชีย ใน ราชรัฐดานูบ
จัดตั้งสหราชรัฐมอลเดเวียและวอลลาเชีย ในค.ศ. 1862.

พระประมุขต่อจากนี้, ดูที่ โดมนิเตอร์ และ พระมหากษัตริย์แห่งโรมาเนีย.

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 Constantin Rezachevici - Cronologia critică a domnilor din Țara Românească și Moldova a. 1324 - 1881, Volumul I, Editura Enciclopedică, 2001