รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครน

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศยูเครนทั้งสิ้น 8 แหล่ง[1] เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 7 แหล่ง และแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง

ที่ตั้ง แก้

ที่ตั้งแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครน จุดสีเทาคือที่ตั้งของแซร์กวาไม้, จุดสีน้ำเงินคือที่ตั้งของแหล่งส่วนโค้งภูมิมาตรศาสตร์ชตรูเวอ และจุดสีเขียวคือที่ตั้งของป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิ

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก แก้

แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม แก้

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
หมายเหตุ อ้างอิง
เคียฟ : อาสนวิหารนักบุญโซเฟียและสิ่งปลูกสร้างอารามที่เกี่ยวข้อง และกือแยวอ-แปแชร์สกาลาวรา   เคียฟ
50°27′10.5″N 30°30′51.4″E / 50.452917°N 30.514278°E / 50.452917; 30.514278 (Kiev: Saint-Sophia Cathedral and Related Monastic Buildings, Kiev-Pechersk Lavra)
วัฒนธรรม:
(i), (ii), (iii), (iv)
28.52;
พื้นที่กันชน 476.08
2533/1990;
เพิ่มเติม 2548/2005
และ 2564/2021
เป็นแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตรายเมื่อ พ.ศ. 2566 527[2]
ลวิว กลุ่มศูนย์กลางประวัติศาสตร์   แคว้นลวิว
49°50′30.9″N 24°01′53.5″E / 49.841917°N 24.031528°E / 49.841917; 24.031528 (L'viv – the Ensemble of the Historic Centre)
วัฒนธรรม:
(ii), (v)
120;
พื้นที่กันชน 2,441
2541/1998;
เพิ่มเติม 2551/2008
เป็นแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตรายเมื่อ พ.ศ. 2566 865[3]
ส่วนโค้งภูมิมาตรศาสตร์ชตรูเวอ
(ร่วมกับนอร์เวย์, เบลารุส, ฟินแลนด์, มอลโดวา, รัสเซีย, ลัตเวีย, ลิทัวเนีย, สวีเดน และเอสโตเนีย)
  แคว้นคแมลนึตสกึย
และแคว้นออแดซา
49°19′48.1″N 26°40′54.6″E / 49.330028°N 26.681833°E / 49.330028; 26.681833 (Struve Geodetic Arc)
วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (vi)
2548/2005 1187[4]
ที่พำนักของสังฆราชมหานครแห่งบูโควีนาและแดลเมเชีย   แคว้นแชร์นิวต์ซี
48°17′48.0″N 25°55′29.0″E / 48.296667°N 25.924722°E / 48.296667; 25.924722 (Residence of Bukovinian and Dalmatian Metropolitans)
วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (iv)
8;
พื้นที่กันชน 244.85
2554/2011 1330[5]
นครโบราณเคร์โซแนโซสเตาริแกและอาณาเขตนอกตัวนคร   แซวัสตอปอล
44°36′42.0″N 33°29′36.0″E / 44.611667°N 33.493333°E / 44.611667; 33.493333 (Ancient City of Tauric Chersonese and its Chora)
วัฒนธรรม:
(ii), (v)
259.3752;
พื้นที่กันชน 3,041.0876
2556/2013 1411[6]
แซร์กวาไม้แห่งภูมิภาคคาร์เพเทียนในโปแลนด์และยูเครน
(ร่วมกับโปแลนด์)
  แคว้นซาการ์ปัจจา, แคว้นลวิว และแคว้นอีวานอ-ฟรันกิวสก์
50°03′19.2″N 23°58′56.0″E / 50.055333°N 23.982222°E / 50.055333; 23.982222 (Wooden Tserkvas of the Carpathian Region in Poland and Ukraine)
วัฒนธรรม:
(iii), (iv)
7.03;
พื้นที่กันชน 92.73
2556/2013 1424[7]
ศูนย์กลางประวัติศาสตร์ออแดซา   แคว้นออแดซา
46°29′11.2″N 30°44′29.8″E / 46.486444°N 30.741611°E / 46.486444; 30.741611 (The Historic Centre of Odesa)
วัฒนธรรม:
(ii), (iv)
2566/2023 เป็นแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตรายเมื่อ พ.ศ. 2566 1703[8]

แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ แก้

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
หมายเหตุ อ้างอิง
ป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิแห่งเทือกเขาคาร์เพเทียนและภูมิภาคอื่นของยุโรป
(ร่วมกับโครเอเชีย, เช็กเกีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, บัลแกเรีย, เบลเยียม, โปแลนด์, ฝรั่งเศส, มาซิโดเนียเหนือ, เยอรมนี, โรมาเนีย, สเปน สโลวาเกีย, สโลวีเนีย, สวิตเซอร์แลนด์, ออสเตรีย, อิตาลี และแอลเบเนีย)
  แคว้นคแมลนึตสกึย, แคว้นซาการ์ปัจจา, แคว้นลวิว และแคว้นอีวานอ-ฟรันกิวสก์
48°37′00.3″N 23°41′00.4″E / 48.616750°N 23.683444°E / 48.616750; 23.683444 (Ancient and Primeval Beech Forests of the Carpathians and Other Regions of Europe)
ธรรมชาติ:
(ix)
98,124.96;
พื้นที่กันชน 294,716.32
2550/2007;
เพิ่มเติม 2554/2011,
2560/2017
และ 2564/2021
ป่าต้นบีชในประเทศยูเครนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกเมื่อ พ.ศ. 2550 1133[9]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น แก้

ประเทศยูเครนมีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 16 แห่ง[1]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Ukraine". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  2. "Kiev: Saint-Sophia Cathedral and Related Monastic Buildings, Kiev-Pechersk Lavra". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  3. "L'viv – the Ensemble of the Historic Centre". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  4. "Struve Geodetic Arc". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  5. "Residence of Bukovinian and Dalmatian Metropolitans". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  6. "Ancient City of Tauric Chersonese and its Chora". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  7. "Wooden Tserkvas of the Carpathian Region in Poland and Ukraine". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  8. "The Historic Centre of Odesa". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  9. "Ancient and Primeval Beech Forests of the Carpathians and Other Regions of Europe". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.