รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

รายการต่อไปนี้คือ รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา เนลสัน แมนเดลา ได้รับรางวัลรวมทั้งสิ้นมากกว่า 250 รางวัลตลอดช่วงเวลา 4 ทศวรรษ รางวัลที่สำคัญที่สุดคือ รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งได้รับเมื่อปี ค.ศ. 1993

เนลสัน แมนเดลา


เนื้อหา
1960s, 1970s, 1980, 1981, 1982, 1983, 1984, 1985, 1986, 1987, 1988, 1989, 1990, 1991, 1992

1993, 1994, 1995, 1996, 1997, 1998, 1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2007, 2008
อ้างอิง

ทศวรรษ 1960 แก้

ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 แมนเดลาได้รับยกย่องจากสหพันธ์นักศึกษามหาวิทยาลัยสองแห่งในประเทศอังกฤษ[1]

ปี ได้รับจาก ชื่อรางวัล
1964 วิทยาลัยยูนิเวอร์ซิตี้ ลอนดอน Elected Honorary President of the Students' Union
1965 มหาวิทยาลัยลีดส์ Elected Honorary President of the Students' Union


ทศวรรษ 1970 แก้

ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 แมนเดลาได้รับรางวัล 3 รางวัล ทั้งจากมหาวิทยาลัย และสหพันธ์นักศึกษาของมหาวิทยาลัย จากประเทศอังกฤษ 2 แห่ง และจากประเทศเลโซโท 1 แห่ง[1]

ปี ได้รับจาก ชื่อรางวัล
1973 นักวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยลีดส์ อนุภาคนิวเคลียร์ที่เพิ่งค้นพบใหม่ ได้รับการตั้งชื่อว่า "อนุภาคแมนเดลา"
1975 สหพันธ์มหาวิทยาลัยแห่งลอนดอน สมาชิกกิตติมศักดิ์ตลอดชีพ
1979 มหาวิทยาลัยเลโซโท ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ด้านกฎหมาย

1980 แก้

ปี ค.ศ. 1980 แมนเดลาได้รับรางวัลจากรัฐบาลอินเดียในกรุงนิวเดลี สำหรับ "การประสานความเข้าใจระดับนานาชาติ"[2]

ได้รับจาก ชื่อรางวัล
Indian Council for Cultural Relations Jawaharlal Nehru Award for International Understanding

1981 แก้

ปี ค.ศ. 1981 แมนเดลาได้รับ 3 รางวัลเกียรติยศจากองค์กรในประเทศอังกฤษ สก็อตแลนด์ และออสเตรีย [3]

ได้รับจาก ชื่อรางวัล
เมืองกลาสโกว์ ประเทศอังกฤษ กุญแจเมืองกลาสโกว์
London Borough of Brent ถนนแห่งหนึ่งในเมืองเบรนท์ ตั้งชื่อว่า ถนนแมนเดลา
International panel of judges Bruno Kreisky Award สำหรับการต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน

1982 แก้

ได้รับจาก ชื่อรางวัล
สหพันธ์นักศึกษาเศรษฐศาสตร์แห่งวิทยาลัยลอนดอน (LSE) Elected Honorary Life President of the Students' Union

1983 แก้

ได้รับจาก ชื่อรางวัล
พลเมืองกิตติมศักดิ์แห่ง โรม เดือนกุมภาพันธ์
พลเมืองกิตติมศักดิ์แห่ง โอลิมเปีย ประเทศกรีซ 17 มีนาคม
ซิตี้คอลเลจ แห่งนิวยอร์ก ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขากฎหมาย 5 มิถุนายน
สภาเมืองดับลิน ไอร์แลนด์ Unveiled sculpture in a city park by Elisabeth Frink dedicated to Nelson Mandela, 26 มิถุนายน
Award of the order Star of International Friendship in gold by the East Germany, 18 กรกฎาคม
สภาเมืองฮาร์โลว์ ประเทศอังกฤษ เปลี่ยนชื่อถนนสายหลักของเมือง เพื่อเป็นเกียรติแก่เนลสัน แมนเดลา 18 กรกฎาคม
AUEW/TASS, one of United Kingdom's major trade unions Held a special ceremony to rename their executive committee room the 'Nelson Mandela Room', 18 July
Freedom of London Borough of Greenwich, 20 กรกฎาคม
UNESCO มอบรางวัล Simon Bolivar International Prize เป็นครั้งแรก โดยให้ร่วมกันระหว่าง เนลสัน แมนเดลา กับ กษัตริย์ ฮวน คาร์ลอส แห่งสเปน ในงานพิธีที่เมืองคาราคัส เวเนซุเอลา ในโอกาสครบรอบ 200 ปีชาตกาล ของ Simón Bolívar 24 กรกฎาคม[4]
สภาเมืองลีดส์, ประเทศอังกฤษ ตั้งชื่อศาลากลางจังหวัดว่า 'Nelson Mandela Gardens' 10 ธันวาคม
สวนแห่งหนึ่งใน ฮัลล์ (Hull) ประเทศอังกฤษ ตั้งชื่อว่า 'Mandela Park'
Lancaster University, UK Honorary Doctorate of Laws
เมืองคาร์ดิฟฟ์, เวลส์ ตั้งชื่อถนนแห่งหนึ่งว่า เนลสัน แมนเดลา
สหภาพนักศึกษา มหาวิทยาลัยวอริค, โคเวนทรีโพลีเทคนิค (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยโคเวนทรี) และเซาธ์แบงก์โพลีเทคนิค (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยลอนดอนเซาธ์แบงก์) ตั้งชื่อห้องต่างๆ เป็นเกียรติแก่เนลสัน แมนเดลา
นิวยอร์กซิตี้ เปลี่ยนชื่อจัตุรัสหน้า South African mission ที่สหประชาชาติว่า 'เนลสันและวินนี แมนเดลาพลาซ่า'

1984 แก้

  • ปริญญากิตติมศักดิ์, Free University of Brussels 13 มกราคม
  • London Borough of Camden Council, ตั้งชื่อถนนแห่งหนึ่งซึ่งขบวนการต่อต้านการแบ่งแยกสีผิวใช้เป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ว่า "ถนนแมนเดลา"
  • London Borough of Hackney Council, ตั้งชื่อแถบบ้านเรือนแห่งหนึ่งตามชื่อ เนลสัน แมนเดลา ในเดือนเมษายน
  • Playa Giron Award, คิวบา, มอบรางวัลโดย ฟิเดล คาสโตร
  • สมาชิกกิตติมศักดิ์ ของ National Association of Local Government Officers (NALGO) แห่งสหราชอาณาจักร
  • London Borough of Haringey Council, ตั้งชื่อโครงการพัฒนาที่อยู่อาศัย ตามชื่อเนลสัน แมนเดลา
  • พิธีเปิด อนุสาวรีย์ เนลสัน แมนเดลา ที่ จัตุรัสเมอร์เรียน กรุงดับลิน
  • ได้รับเลือกเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ ของสมาพันธ์นักศึกษา มหาวิทยาลัยแห่ง Strathclyde สก๊อตแลนด์
  • ได้รับกุญแจเมือง Wijnegem ประเทศเบลเยียม
  • ได้รับรางวัล Star of International Friendship, สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน, 27 สิงหาคม[5]
  • ได้รับกุญแจเมือง Aberdeen ซึ่งมอบให้แก่ทั้งเนลสัน และ วินนี แมนเดลา, 29 พฤศจิกายน
  • โรงเรียนแห่งหนึ่งในสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน ตั้งชื่อว่า "โรงเรียนเนลสัน แมนเดลา"

1985 แก้

  • สหภาพสำนักงานสรรพากร สหราชอาณาจักร ตั้งชื่อทุนการศึกษา Commonwealth trade union ตามชื่อของเนลสัน แมนเดลา
  • London Borough of Southwark ตั้งชื่อถนนสายใหม่ในเมืองว่า "ถนนแมนเดลา"
  • สภาเมืองนอตติงแฮม ตั้งชื่อห้องหนึ่งในศูนย์กีฬาของเมือง ตามชื่อเนลสัน แมนเดลา
  • Third World Prize ซึ่งเป็นรางวัลที่มอบเป็นประจำทุกปี โดย Third World Foundation for Social and Economic Studies ที่มีฐานในประเทศอังกฤษ มอบให้แก่ เนลสัน กับ วินนี แมนเดลา
  • ได้รับมอบกุญแจเมือง Hull ของสหราชอาณาจักร
  • ได้รับรางวัล Ludovic-Trarieux International Human Rights Prize จากองค์กรสิทธิมนุษยชน The Bar of Bordeaux, Bordeaux, ประเทศฝรั่งเศส, 29 มีนาคม
  • นักเขียนและผู้สื่อข่าวจากองค์กรนักเขียนแห่งไนจีเรีย ซึ่งต่อต้านการแบ่งแยกสีผิว ยกย่องให้แมนเดลาในตำแหน่งผู้อุปถัมภ์ตลอดชีพ (Life Patron)
  • เมือง Huddersfield ใน ยอร์กเชอร์ตะวันตก สหราชอาณาจักร ตั้งชื่อมุมปาฐกถาว่า Nelson Mandela Corner ในเดือนกันยายน
  • ได้รับมอบกุญแจเมือง รีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล ในเดือนตุลาคม
  • พลเมืองกิตติมศักดิ์แห่ง รีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล ในเดือนตุลาคม
  • ประกาศนียบัตรแห่งเกียรติยศและมิตรภาพ จาก มหาวิทยาลัยรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล ในเดือนตุลาคม
  • ก่อสร้างรูปปั้น เนลสัน แมนเดลา ในกรุงลอนดอน โดย สภาเมือง Greater London Council มีพิธีเปิดโดย โอลิเวอร์ แทมโบ เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม
  • Abdou Diouf ประธานาธิบดีแห่ง เซเนกัล ทำพิธีเปิดจัตุรัสโซเวโท และ ถนนเนลสัน แมนเดลา ที่ใจกลางกรุงดักการ์ ประเทศเซเนกัล, 6 ธันวาคม
  • ได้รับปริญญาเอกด้านกฎหมาย จาก Ahmadu Bello University ใน ไนจีเรีย เดือนธันวาคม

1986 แก้

 
ป้ายถนนในเมืองกลาสโกว์ ,สก็อตแลนด์

1987 แก้

1988 แก้

1989 แก้

1990 แก้

 
Lenin Peace Prize Medal, awarded 1990

1991 แก้

1992 แก้

1993 แก้

 
บิล คลินตัน มอบเหรียญรางวัลเสรีภาพแห่งฟิลาเดลเฟีย ให้แก่ เนลสัน แมนเดลา เมื่อ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1993

1994 แก้

1995 แก้

1996 แก้

1997 แก้

 
Nelson Mandela's former house in Soweto, Johannesburg, now Mandela Family Museum.

1998 แก้

1999 แก้

2000 แก้

2001 แก้

2002 แก้

2003 แก้

2004 แก้

2005 แก้

2006 แก้

2007 แก้

2008 แก้

2009 แก้

เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2009 แมนเดลาได้รับรางวัล Arthur Ashe ESPY Award สำหรับความกล้าหาญ มอบให้โดย วีนัสและเซเรนา วิลเลียมส์ ผู้เป็นตัวแทนรับมอบคือลูกสาวและหลานชายของเขาซึ่งพำนักอยู่ในสหรัฐอเมริกา

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 The Presidential Medal of Freedom Website. "President Medal of Freedom Recipient Nelson Mandela". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-03. สืบค้นเมื่อ 2008-02-26.
  2. "Jawaharlal Nehru Awards". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-03-31. สืบค้นเมื่อ 2009-10-23.
  3. African National Congress (1 November, 1999). "Honours, Awards and Other Forms of Recognition Bestowed upon Nelson Mandela". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-07. สืบค้นเมื่อ 2008-02-26. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  4. "International Simón Bolívar Prize Laureates".
  5. "Two Anti Imperialists Honour Nelson Mandela". December 1984. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |publication= ถูกละเว้น (help)
  6. TheGlasgowStory: Nelson Mandela
  7. "Newcastle City Council - Honorary Freemen (1977 to date)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-10-01. สืบค้นเมื่อ 2009-10-23.
  8. "Prizewinners of the Félix Houphouët-Boigny Peace Prize". UNESCO.
  9. "Statement on the Ataturk Award given to Nelson Mandela". ANC. 12 April 1992. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-10-01. สืบค้นเมื่อ 2009-10-23. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |acdcessdate= ถูกละเว้น (help)
  10. Yucel Yerilgoz. "Double Standard: the Turkish State and Racist Violence". สืบค้นเมื่อ 2007-01-02.
  11. "'President Mandela seeks support from UK universities', Oxford University Gazette, vol. 126, no. 4409 (25 July 1996)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-02-25. สืบค้นเมื่อ 2009-10-23.
  12. "'Nelson Mandela visits Cambridge', University of Cambridge News Centre (2 May 2001)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-06. สืบค้นเมื่อ 2009-10-23.
  13. 'Nelson Mandela receives eight honorary degrees at Buckingham Palace', THES editorial (12 July 1996)
  14. 'Nelson Mandela Awarded Honorary Degree at special Buckingham Palace Ceremony', University of Warwick News, Media & Events
  15. Embattled Winnie opens Mandela Family Museum, BBC, November 29, 1997
  16. "Rideau Hall: A Special Occasion". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-03-28. สืบค้นเมื่อ 2009-10-23.
  17. "Mandela changes his mind". Turkish Press Review. 7 January 1999. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-09-10. สืบค้นเมื่อ 2007-01-02. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  18. "Nelson Mandela National Museum". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-19. สืบค้นเมื่อ 2009-10-23.
  19. แม่แบบ:LondonGazette
  20. "Leeds City Council - History of the city of Leeds". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2009-10-23.
  21. "The Order of Mapungubwe - List of Recipients". The Presidency. September 2007. สืบค้นเมื่อ 2009-02-03.[ลิงก์เสีย]
  22. "35 Heroes of Freedom". Reason. December 2003. สืบค้นเมื่อ 2006-12-30.
  23. "Nelson Mandela Square - The Launch". March 31, 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2005-04-06. สืบค้นเมื่อ 2021-08-24. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  24. "Nelson Mandela Investiture" (PDF). November 23, 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-06-13. สืบค้นเมื่อ 2008-04-28. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  25. "Amherst College Honors Nelson Mandela". Amherst College. May 12, 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-09-19. สืบค้นเมื่อ 2009-10-23. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  26. "Heroes of our time". New Statesman. May 22, 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-04-28. สืบค้นเมื่อ 2009-10-23. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  27. "Nelson Mandela to become Amnesty International "Ambassador of Conscience"". Amnesty International. September 19, 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-11-09. สืบค้นเมื่อ 2009-10-23. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  28. "Mandela meets Manchester United". BBC. July 19, 2006. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  29. "UiTM Confers Honorary Doctorate On Nelson Mandela". BERNAMA News. Nov 09, 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-14. สืบค้นเมื่อ 2009-10-23. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  30. "Mandela statue finally gets London go-ahead". Reuters. 20 April 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-04-04. สืบค้นเมื่อ 2009-10-23.
  31. "Mandela honorary citizen of Belgrade". B92. 15 May 2007.
  32. A Different View, Issue 19, January 2008.
  33. "Mandela, Koonin to be recognized at MSU commencement for global contributions". 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-07-24. สืบค้นเมื่อ 19 April. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |accessyear= ถูกละเว้น แนะนำ (|access-date=) (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)