รัฐบาลสมัชชาใหญ่แห่งชาติ

รัฐบาลชั่วคราวของตุรกี (ค.ศ. 1920-1923)

รัฐบาลสมัชชาใหญ่แห่งชาติ (ตุรกี: Büyük Millet Meclisi Hükûmeti) เรียกกันโดยทั่วไปว่า รัฐบาลอังการา (ตุรกี: Ankara Hükûmeti)[3][4][5][6][7][8] เป็นชื่อเรียกรัฐบาลตุรกีชั่วคราวซึ่งมาจากการปฏิวัติ ตั้งอยู่ในกรุงอังการา ในช่วงสงครามประกาศอิสรภาพตุรกี (ค.ศ. 1919−1923) และในช่วงปีสุดท้ายของจักรวรรดิออตโตมัน รัฐบาลนี้มีขบวนการแห่งชาติตุรกีเป็นผู้นำ ซึ่งต่างจากรัฐบาลอันเสื่อมสลายของคอนสแตนติโนเปิล ที่มีสุลต่านออตโตมันเป็นผู้นำ

รัฐบาลสมัชชาใหญ่แห่งชาติ

Büyük Millet Meclisi Hükûmeti
ค.ศ. 1920–ค.ศ. 1923
ธงชาติรัฐบาลอังการา
ธงชาติ
คำขวัญYa istiklâl ya ölüm!
"อิสรภาพหรือความตาย!"
สถานการณ์ภายในจักรวรรดิออตโตมันภายหลัง สนธิสัญญาแซแวร์ มีผลบังคับใช้
สถานการณ์ภายในจักรวรรดิออตโตมันภายหลัง สนธิสัญญาแซแวร์ มีผลบังคับใช้
เมืองหลวงอังการา (โดยพฤตินัย)
ภาษาราชการตุรกี[1]
ศาสนา
อิสลาม (ศาสนาประจำชาติ)[1]
การปกครองรัฐบาลเฉพาะกาลภายใต้ระบบรัฐสภา
ประธานสภานิติบัญญัติ 
• ค.ศ. 1920–1923
มุสทาฟา เคมัลab
นายกรัฐมนตรี 
• ค.ศ. 1920–1921
มุสทาฟา เคมัล
• ค.ศ. 1921–1922
มุสทาฟา เฟสซี
• ค.ศ. 1922–1923
ฮูซายิน ราเฟ
• ค.ศ. 1923
เอลลี เฟที
สภานิติบัญญัติสมัชชาใหญ่แห่งชาติ
ยุคประวัติศาสตร์สงครามประกาศอิสรภาพ
23 เมษายน ค.ศ. 1920
3 พฤษภาคม ค.ศ. 1920
20 มกราคม ค.ศ. 1921
11 ตุลาคม ค.ศ. 1922
1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1922
24 กรกฎาคม ค.ศ. 1923
29 ตุลาคม ค.ศ. 1923
ประชากร
• 
6–7 ล้านคน[2]
สกุลเงินลีราออตโตมัน
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิออตโตมัน
อาร์เมเนีย
แนวยึดครองสมึร์นา
การยึดครองกรุงคอนสแตนติโนเปิล
สาธารณรัฐประชาธิปไตยจอร์เจีย
สาธารณรัฐตุรกี
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ ตุรกี
^a ในฐานะ "ประธานสภานิติบัญญัติสมัชชาใหญ่แห่งชาติ"
^b ในฐานะ "ผู้บัญชาการทหารสมัชชาใหญ่แห่งชาติ" ภายหลัง ค.ศ. 1921

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 [1] TEŞKİLÂTI ESASİYE KANUNU
  2. Belgelerle Türk tarihi dergisi, Edition 18, Menteş Kitabevi, 1986, page 72. (ในภาษาตุรกี)
  3. Esra Yakut: Şeyhülislâmlık: yenileşme döneminde devlet ve din, Kitap Yayınevi Ltd., 2005, ISBN 9789758704941, page 198,199. (ในภาษาตุรกี)
  4. Pars Tuğlacı: Çağdaş Türkiye, Cem Yayınevi, 1987, Turkey page 358. (ในภาษาตุรกี)
  5. Hakan Alan, Avni Alan: İstanbul Şehir Rehberi, ASBOOK, 2007, ISBN 9750114701, page 12. (ในภาษาตุรกี)
  6. Yahya Kemal: Eğil Dağlar, Kubbealtı Publishing, 1966, ISBN 9757618519, pages 13, 92-93, 138, 155, 170, 188, 204-205, 232, 302, 338. (ในภาษาตุรกี)
  7. William Hale: Turkish Foreign Policy, 1774-2000, Routledge, 2012, ISBN 0415599865, pages 36, 37, 38, 50, 265.
  8. Kemal Kirişci, Gareth M. Winrow: The Kurdish Question and Turkey: An Example of a Trans-State Ethnic Conflict, Routledge, 1997, ISBN 0714647462, pages 71-75, 77-79, 80, 82-84.

ดูเพิ่ม แก้