ระบบรถรางในโกลกาตา รัฐเบงกอลตะวันตก ให้บริการโดยบริษัทรถรางโกลกาตา (CTC) ถือเป็นระบบรถรางเพียงแห่งเดียวของประเทศอินเดีย[5] และเป็นระบบรถรางไฟฟ้าที่เก่าแก่ที่สุดในทวีปเอเชีย เริ่มให้บริการตั้งแต่ปี ค.ศ. 1902[6]

รถรางในโกลกาตา
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งโกลกาตา
ประเภทรถราง
จำนวนสาย25[1]
ผู้โดยสารต่อวัน10,000 คนต่อวัน
การให้บริการ
เริ่มดำเนินงานค.ศ. 1873[2]
ผู้ดำเนินงานบริษัทรถรางโกลกาตา
รหัสตามตัวอักษรCTC
จำนวนขบวน257 คัน
(ให้บริการ 80 คัน)[3]
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง8 กิโลเมตร[4]
รางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in)[2]
การจ่ายไฟฟ้า550 โวลต์ ไฟฟ้ากระแสตรง-ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว
ผังเส้นทาง

บริษัทรถรางโกลกาตา มีรถรางทั้งหมด 257 คัน ซึ่งวิ่ง 125 เที่ยวต่อวัน[3] รถแต่ละคนรองรับผู้โดยสารได้ 200 คน (60 ที่นั่ง) ศูนย์ซ่อมบำรุงมีทั้งหมด 7 แห่ง ได้แก่ ศูนย์ Belgachhia, ราชบาซาร์, พาร์กเซอร์คัส, Gariahat, Tollygunge, Kalighat และ Khidirpur ระบบรถรางมีสถานีปลายทาง 9 แห่ง ได้แก่ สถานี Shyambazar, Galiff Street, Bidhannagar, Ballygunge, เอสพลานาด, B. B. D. Bagh และสะพาน Howrah และมีโรงงานผลิตรถรางที่ Nonapukur

ศูนย์ซ่อมบำรุงที่มีจำนวนรางและพื้นที่มากที่สุดคือศูนย์ราชบาซาร์ และ Tollygunge ตามลำดับ ส่วนศูนย์ซ่อมบำรุงที่เก่าที่สุดคือศูนย์ Khidirpur และศูนย์ที่เล็กที่สุดคือศูนย์ Kalighat สถานีปลายทางที่รองรับจำนวนเส้นทางมากที่สุดคือสถานีเอสพลานาด

เส้นทาง แก้

 
แผนที่เส้นทางรถรางในโกลกาตา
สาย สถานีปลายทาง ระยะทาง (กม.)
1 BelgachiaEsplanade 7.29[1]
2 BelgachiaBBD Bag 6.81[1]
4 BelgachiaBBD Bag 6.92[1]
5 ShyambazarEsplanade 5.43[1]
6 ShyambazarBBD Bag 5.13[1]
8 Bagbazar – BBD Bag 5.13[1]
10 ShyambazarBBD Bag 5.13[1]
11 Belgachhia – Howrah Bridge 6.00[1]
12/1 BelghachiaEsplanade -[1]
12/7 EsplanadeGaliff Street 6.92[1]
14 Rajabazar – BBD Bag 4.81[1]
15/12 Rajabazar – Howrah Bridge -[1]
16 Bidhan Nagar – BBD Bag 8.14[1]
17 Bidhan Nagar – Esplanade 7.95[1]
18 Bidhan Nagar – Howrah Bridge -[1]
20 Park Circus – Howrah Bridge 6.85[1]
20/17 Park Circus – Bidhan Nagar 9.25[1]
21 Park Circus – Howrah Bridge 7.75[1]
22 Park CircusEsplanade 5.65[1]
24 BallygungeEsplanade 4.99[1][7][8]
24/29 TollygungeBallygunge -[1]
25 GariahatEsplanade 8.65[1]
26 Gariahat – Howrah Bridge 9.68[1]
26/17 Gariahat – Bidhan Nagar -[1]
29 TollygungeEsplanade 4.99[1][7][8]
29/36 TollygungeKhidderpore
36 Khidderpore – Esplanade 4.99[1]
36/8 Khidderpore – Esplanade & Bagbazar -[1]

โครงการในอนาคต แก้

มีโครงการปรับปรุงระบบรถไฟฟ้าและสายลวด และจะมีการขยายเส้นทางไปยังซอลต์เลก, ราชฮัต, บันตาลา[9] และพื้นที่ริมน้ำฮูกลี[10][11] และยังมีโครงการอุโมงค์ลอดใต้แม่น้ำฮูกลีอีกด้วย[12]

นอกจากนี้ยังมีแผนปลดระวางรถรางคันเก่า และนำรถรางคันใหม่เข้ามาใช้งานแทน โดยแผนนี้มีการอภิปรายจากการวิจารณ์ว่ารถรางกินพื้นที่บนถนนมากเกินไป ทำให้พาหนะบนท้องถนนเคลื่อนตัวได้ช้าลง และรถรางคันเก่าจุผู้โดยสารได้น้อย[13] อย่างไรก็ตาม รถรางยังคงถูกมองว่ามีเอกลักษณ์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม[14]

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 1.14 1.15 1.16 1.17 1.18 1.19 1.20 1.21 1.22 1.23 1.24 1.25 1.26 1.27 Tram Routes
  2. 2.0 2.1 [1] เก็บถาวร 2013-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน CTC website. Accessed 16 August 2013.
  3. 3.0 3.1 "Bankrupt CTC to introduce two more AC trams". The Times of India. 14 August 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-08-16. สืบค้นเมื่อ 2018-05-24.
  4. http://calcuttatramways.com/about-ctc/
  5. "Reaching India". New Delhi: Times Internet Limited. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-09. สืบค้นเมื่อ 27 February 2012.
  6. "Kolkata trams to get a GenX makeover". 13 July 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-27. สืบค้นเมื่อ 2018-05-24.
  7. 7.0 7.1 "Tram route gets new life on Panchami". 10 October 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-29. สืบค้นเมื่อ 2018-05-24.
  8. 8.0 8.1 "Tram route back on track after 7 years". 18 October 2013.
  9. "Kolkata to get banquet and cafeteria trams". Daily News. 12 February 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-29. สืบค้นเมื่อ 2018-05-24.
  10. "New tram route on anvil to soak in riverfront views". The Times of India. 8 July 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-22. สืบค้นเมื่อ 2018-05-24.
  11. "City tram network set for expansion". The Statesman. 12 September 2013.
  12. "Subhas dreams of tram below Hooghly". The Times of India. 21 May 2002. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-22. สืบค้นเมื่อ 2018-05-24.
  13. "State govt mulls phasing out trams from Kolkata streets". 27 Sep 2016.
  14. "Kolkata trams not to be scrapped". 22 May 2017.
  • Niyogi, S. Shake, rattle & roll. The Sunday Story, Sunday Times of India, Kolkata, 25 June 2006. Available on Times of India e-paper (paid subscription required as of 2010).
  • Pathak Pratap Shankar, The Sunday Story, Sunday Times of India, Kolkata

แหล่งข้อมูลอื่น แก้