มัสยิดอะบูฮะนีฟะฮ์

มัสยิดอะบูฮะนีฟะฮ์ (อาหรับ: مسجد أبي حنيفة) หรืออีกชื่อว่า ญาเมียะอ์อัลอิมามุลอะอ์ซ็อม (อาหรับ: جامع الإمام الأعظم) เป็นหนึ่งในสถานที่มัสยิดของซุนนีที่โดดเด่นที่สุดในแบกแดด ประเทศอิรัก ซึ่งสร้างขึ้นรอบสุสานอะบูฮะนีฟะฮ์ อันนุอ์มาน ผู้ก่อตั้งมัซฮับฮะนะฟี

มัสยิดอะบูฮะนีฟะฮ์
مسجد أبي حنيفة
جامع الإمام الأعظم
มัสยิดอะบูฮะนีฟะฮ์ใน ค.ศ. 2008
ศาสนา
ศาสนาอิสลาม
จารีตซุนนี
สถานะองค์กรมัสยิดและศาลเจ้า
หน่วยงานกำกับดูแลอิหม่าม:
  • ชัยค์ อับดุลซัตตัร อับดุลญับบาร[1]
  • ชัยค์อะฮ์มัด ฮัสซัน อัฏฏอฮา
สถานะเปิด
ที่ตั้ง
ที่ตั้งแบกแดด ประเทศอิรัก
ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Location_map บรรทัดที่ 522: Unable to find the specified location map definition: "Module:Location map/data/Iraq Baghdad" does not exist
พิกัดภูมิศาสตร์33°22′20″N 44°21′30″E / 33.372091°N 44.358409°E / 33.372091; 44.358409
สถาปัตยกรรม
รูปแบบ
ผู้สร้าง
เริ่มก่อตั้งป. ค.ศ. 985–986 / ฮ.ศ. 375
ลักษณะจำเพาะ
ความจุ5,000 คน
พื้นที่ภายใน10,000 ตารางเมตร (110,000 ตารางฟุต)
โดม4
หอคอย2
ความสูงหอคอย35 เมตร (115 ฟุต)
ศาลเจ้า1

กองทัพสหรัฐสร้างความเสียหายกับมัสยิดในวันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 2003 โดยการยิงจรวดไปที่หอนาฬิกา[2]

ภูมิหลัง แก้

เคาะลีฟะฮ์อะบูญะอ์ฟัร อัลมันศูรทรงเสนอให้อะบูฮะนีฟะฮ์ทำหน้าที่เป็น ดะโต๊ะยุติธรรม แต่เขาปฏิเสธ ทำให้เขาถูกทรมานและเข้าไปในคุก เขาถูกเฆี่ยน 110 ครั้งจนกระทั่งเขายอมรับ อัลมันศูร์จึงมีพระราชกระแสรับสั่งให้อะบูฮะนีฟะฮ์ทำฟัตวาที่จะขยายพระราชอำนาจของเคาะลีฟะฮ์ ซึ่งอะบูฮะนีฟะฮ์ไม่ยอมรับอีก ทำให้เขาต้องเข้าคุกอีกครั้ง[3]

ขณะอยู่ในคุก อะบูฮะนีฟะฮ์เสียชีวิตใน ฮ.ศ. 150 / ค.ศ. 767 ที่แบกแดด ซึ่งอาจมาจากการถูกวางยาพิษหรือความแก่ชรา[4] เขาถูกฝังที่สุสานอัลค็อยซุรอน ซึ่งนำชื่อมาจากอัลค็อยซุรอน บินต์ อะฏออ์ที่ฝังในที่เดียวกันหลังจากอะบูฮะนีฟะฮ์เสียชีวิตเป็นเวลา 23 ปี[5] กล่าวกันว่ามีผู้เยี่ยมชมสุสานประมาณ 50,000 คน และอัลมันศูรก็เสด็จมาที่นี่ด้วย[6]

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "Imam of the Abu Hanifa mosque, Abd al-Sattar Abd al-Jabbar, calls the security forces to stop some of their members from provoking people in a way that raises sectarian gaps". Sharqiya Television. May 21, 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-30. สืบค้นเมื่อ 2021-08-20.
  2. Scenes from post-2003 Iraq เก็บถาวร 2019-03-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน,.
  3. Ibn al-Bazzaz, Mohammed M. (1904). Virtues of Imam Abu Hanifa. Riyadh: National King Fahd Library.
  4. Najeebabadi, Akbar S. (2001). The History of Islam (2 ed.). Darussalam Press. ISBN 9960892883.
  5. al-Aadhamy, Waleed (2001). Elders of Time and Neighbors of Nu'man. Baghdad: al-Raqeem Library.
  6. Abu Zahra, Mohammed (1947). Abu Hanifa: Life and Era - Opinions and Fiqh (2 ed.). Cairo: Dar al-Fikr al-Arabi. ISBN 9771024361.