มหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก

มหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก (อังกฤษ: Neoproterozoic) ต่อจากมหายุคมีโซโพรเทอโรโซอิกและก่อนหน้ามหายุคพาลีโอโซอิกอยู่ในบรมยุคโพรเทอโรโซอิกยุคนี้อยู่ระหว่าง1,000ล้านปีมาแล้วถึง542ล้านปีมาแล้ว ในมหายุคนี้ประกอบด้วย 3 ยุค คือ ยุคโทเนียน,ยุคไครโอจีเนียน,ยุคอีดีแอคารัน สิ่งมีชีวิตอยู่ในทะเล เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์และสัตว์ยุคแรกสุด ซึ่งต้นมหายุคนี้มีสัตว์หลายเซลล์,โพรทิสตา,โครมาลวีโอตา พวกนี้เป็นส่วนมาก กลางมหายุคมีนำแข็งปกคลุมทั่วโลก ซึ่งเราเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า ปรากฏการณ์โลกบอลหิมะ(Snowball earth). ช่วงปลายยุคชีวิตเริ่มมีวงเวียนแห่งชีวิตมากขึ้น สัตว์ที่มองเห็นได้เกิดขึ้นในยุคนี้ แล้วโลกจึงไม่ได้ว่างเปล่าอีกต่อไปแล้ว เราเรียกยุคนี้ว่ายุคอีดีแอคารัน(Ediacaran period)ซึ่งช่วงต้นยุคถึงกลางยุค มหาทวีปแพนโนเทีย ได้เกิดขึ้นในมหายุคนี้

มหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก
1000 – 541.0 ± 1.0 ล้านปีก่อน
วิทยาการลำดับเวลา
การเสนอคำนิยามใหม่850–541 Ma
Gradstein et al., 2012
การเสนอการแบ่งย่อยยุคไครโอเจเนียน, 850–630 Ma

Gradstein et al., 2012
ยุคอีดีแอคารัน, 630–541.0 Ma

Gradstein et al., 2012
นิรุกติศาสตร์
ความเป็นทางการของชื่อทางการ
ข้อมูลการใช้
เทห์วัตถุโลก
การใช้ระดับภาคทั่วโลก (ICS)
การใช้ช่วงเวลาธรณีกาลของ ICS
การนิยาม
หน่วยวิทยาการลำดับเวลามหายุค
หน่วยลำดับชั้นหินหินมหายุค
ความเป็นทางการของช่วงกาลทางการ
คำนิยามขอบล่างกำหนดตามลำดับเวลา
ขอบล่าง GSSPN/A
การอนุมัติ GSSPN/A
คำนิยามขอบบนการปรากฏของซากดึกดำบรรพ์ร่องรอย Treptichnus pedum
ขอบบน GSSPแหล่งฟอร์จูนเฮด รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ ประเทศแคนาดา
47°04′34″N 55°49′52″W / 47.0762°N 55.8310°W / 47.0762; -55.8310
การอนุมัติ GSSP1992
ข้อมูลชั้นบรรยากาศและภูมิอากาศ
ปริมาณ O
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ
ประมาณ 6 % โดยปริมาตร
(30 % ของปัจจุบัน)
ปริมาณ CO
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ
ประมาณ 4750 ppm
(17 เท่าของยุคก่อนอุตสาหกรรม)
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยประมาณ 22 °C
(สูงกว่าปัจจุบัน 8 °C)

อ้างอิง แก้

ต่อจาก
บรมยุคอาร์เคียน
บรมยุคโพรเทอโรโซอิก ตามด้วย
บรมยุคฟาเนอโรโซอิก
มหายุคแพลีโอโพรเทอโรโซอิก มหายุคมีโซโพรเทอโรโซอิก มหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก
ยุคไซดีเรียน ยุคไรเอเซียน ยุคออโรซีเรียน ยุคสตาทีเรียน ยุคคาลิมเมียน ยุคเอกเทเซียน ยุคสเทเนียน ยุคโทเนียน ยุคไครโอเจเนียน ยุคอีดีแอคารัน