โซมาลี (อังกฤษ: Somali, /səˈmɑːli, s-/;[4][5] อักษรละติน: Af-Soomaali; อักษรวาดาอัด: اَف سٝومالِ‎; อักษรออสมันยา: 𐒖𐒍 𐒈𐒝𐒑𐒛𐒐𐒘, ออกเสียง: [æ̀f sɔ̀ːmɑ́ːlì])[6] เป็นภาษาแอโฟรเอชีแอติกที่อยู่ในสาขาคูชิติก โดยเป็นภาษาแม่ของชาวโซมาลีในเกรตเตอร์โซมาลีและชาวโซมาลีพลัดถิ่น ภาษาโซมาลีเป็นภาษาทางการในประเทศโซมาเลียและโซมาลีแลนด์[7]

โซมาลี
Af Soomaali,[1] Soomaali[2]
𐒖𐒍 𐒈𐒝𐒑𐒛𐒐𐒘, 𐒈𐒝𐒑𐒛𐒐𐒘
اَف سٝومالِ, سٝومالِ,
ภูมิภาคจะงอยแอฟริกา
ชาติพันธุ์ชาวโซมาลี
จำนวนผู้พูด22 ล้านคน  (2019)[3]
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรลาตินโซมาลี (อักษรลาติน; ทางการ)
อักษรวาดาอัด (อักษรอาหรับ)
อักษรออสมันยา
อักษรโบรามา
อักษรกัดดาเร
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการธงของประเทศโซมาเลีย โซมาเลีย
 โซมาลีแลนด์
ธงของประเทศจิบูตี จิบูตี
ธงของประเทศเอธิโอเปีย เอธิโอเปีย
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองในธงของประเทศเคนยา เคนยา
ผู้วางระเบียบRegional Somali Language Academy
รหัสภาษา
ISO 639-1so
ISO 639-2som
ISO 639-3som
Linguasphere14-GAG-a
บริเวณที่มีผู้พูดภาษาโซมาลี
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

บริเวณที่มีผู้พูด แก้

ภาษาโซมาลีมีผู้พูดในบริเวณประเทศโซมาเลีย, จีบูตี, เอธิโอเปีย, เคนยา, เยเมน และในชนพลัดถิ่นโซมาลี และยังเป็นภาษาของชนกลุ่มน้อยบางส่วนในภูมิภาคที่มีชาวโซมาลีเป็นส่วนใหญ่

ภาษาโซมาลีเป็นภาษากลุ่มคูชิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดในภูมิภาคนี้ รองลงมาคือภาษาโอโรโมและภาษาอะฟาร์[8]

ณ ค.ศ. 2019 มีผู้พูดภาษาโซมาลีประมาณ 21.8 ล้านคนในเกรตเตอร์โซมาลี ในจำนวนนี้มีประมาณ 7.8 ล้านคนอาศัยอยู่ในประเทศโซมาเลีย[3] และยังมีผู้พูดภาษานี้ส่วนใหญ่ในประชากรจีบูตีด้วย[9]

อ้างอิง แก้

  1. "Somali alphabets, pronunciation and language". Omniglot. สืบค้นเมื่อ 16 June 2017.
  2. "cldr/so.xml at master · unicode-org/cldr". Unicode. สืบค้นเมื่อ 8 November 2020.
  3. 3.0 3.1 "Somali". SIL International. 2021. สืบค้นเมื่อ June 28, 2021.
  4. Jones, Daniel (2003) [1917], Peter Roach; James Hartmann; Jane Setter (บ.ก.), English Pronouncing Dictionary, Cambridge: Cambridge University Press, ISBN 3-12-539683-2
  5. "Somali". Collins Dictionary. Retrieved on 21 September 2013
  6. Saeed (1999:107)
  7. "Constitution of the Republic of Somaliland" (PDF). สืบค้นเมื่อ November 10, 2019.
  8. Saeed (1999:3)
  9. Lecarme & Maury (1987:22)

ข้อมูล แก้

อ่านเพิ่ม แก้

  • Abdullahi, Mohamed Diriye (2000). Le Somali, dialectes et histoire. Ph.D. dissertation, Université de Montréal.
  • Armstrong, L.E. (1964). "The phonetic structure of Somali," Mitteilungen des Seminars für Orientalische Sprachen Berlin 37/3:116-161.
  • Bell, C.R.V. (1953). The Somali Language. London: Longmans, Green & Co.
  • Berchem, Jörg (1991). Referenzgrammatik des Somali. Köln: Omimee.
  • Cardona, G.R. (1981). "Profilo fonologico del somalo," Fonologia e lessico. Ed. G.R. Cardona & F. Agostini. Rome: Dipartimento per la Cooperazione allo Sviluppo; Comitato Tecnico Linguistico per l'Università Nazionale Somala, Ministero degli Affari Esteri. Volume 1, pages 3–26.
  • Dobnova, Elena Z. (1990). Sovremennyj somalijskij jazyk. Moskva: Nauka.
  • Puglielli, Annarita (1997). "Somali Phonology," Phonologies of Asia and Africa, Volume 1. Ed. Alan S. Kaye. Winona Lake: Eisenbrauns. Pages 521-535.
  • Lamberti, M. (1986). Die Somali-Dialekte. Hamburg: Buske.
  • Lamberti, M. (1986). Map of the Somali-Dialects in the Somali Democratic Republic. Hamburg: Buske.
  • Saeed, John Ibrahim (1987). Somali Reference Grammar. Springfield, VA: Dunwoody Press.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้