ภาษาอีวาตัน หรืออีบาตัน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซีย มีผู้พูดบนเกาะบาตาเนส ทางเหนือสุดของฟิลิปปินส์ เนื่องจากอยู่ใกล้ไต้หวัน จึงมีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาพื้นเมืองในไต้หวัน มากกว่าภาษาในฟิลิปปินส์อื่นๆ แต่ไม่จัดอยู่ในภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซา

ภาษาอีวาตัน
อีบาตัน
Chirin nu Ibatan
ประเทศที่มีการพูดฟิลิปปินส์
ภูมิภาคหมู่เกาะบาตาเนส
ชาติพันธุ์ชาวอีวาตัน
จำนวนผู้พูดไม่ทราบ (33,000 อ้างถึง1996–2007)[1]
ตระกูลภาษา
ภาษาถิ่น
Ivasay
Isamurung
Babuyan
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการภาษาประจำภูมิภาคในประเทศฟิลิปปินส์
ผู้วางระเบียบKomisyon sa Wikang Filipino
รหัสภาษา
ISO 639-3อย่างใดอย่างหนึ่ง:
ivv – Ivatan
ivb – Ibatan (Babuyan)
ที่ตั้งของภาษาอีวาตัน

สัทวิทยา แก้

สระอีวาตัน[2]
หน้า กลาง หลัง
ปิด i ɯ u
เปิด a

/u/ สามารถออกเสียงต่ำเป็น [ʊ]

พยัญชนะอีวาตัน[2]
ริมฝีปาก ปุ่มเหงือก เพดานปาก เพดานอ่อน เส้นเสียง
นาสิก m n ɲ ŋ
หยุด/
กักเสียดแทรก
ไร้เสียง p t k ʔ
ออกเสียง b d ɡ
เสียดแทรก v s ɣ h
เปิด l j w
ลิ้นกระทบ ɾ

/h/ สามารถออกเสียงเป็นเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน [x]

ระบบการเขียน แก้

ภาษาอีวาตันใช้อักษรละติน เนื่องภาษานี้โดยหลักใช้เป็นภาษาพูดและไม่ค่อยพบเป็นภาษาเขียน ทำให้ไม่มีวิธีการเขียนภาษาที่สอดคล้องกันและนักเขียนแต่ละคนอาจเขียนไม่เหมือนกัน ทำให้กระทรวงศึกษาธิการเสนออักขรวิธีไว้ใช้ในโรงเรียนรัฐ โดยใช้อักษรละติน 26 ตัวกับอักษรพิเศษ 3 ตัว ch, ñ และ ng[3]

อ้างอิง แก้

  1. Ivatan ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
    Ibatan (Babuyan) ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
  2. 2.0 2.1 Cottle, Morris (1958). The significant sounds of Ivatan. University of Sydney.
  3. Gabilo-Cariaso, Georgann (2015). Ortograpiya Ivatan. SCHOOLS DIVISION OF BATANES. สืบค้นเมื่อ 7 June 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้