ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก

ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก เป็นการแข่งขันที่จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ย่อยทั้ง 6 สมาพันธ์ของฟีฟ่า เพื่อตัดสินหา 31 จาก 32 ทีมที่จะลงเล่นใน ฟุตบอลโลก 2022 ร่วมกับกาตาร์ซึ่งผ่านการเข้ารอบโดยอัตโนมัติในฐานะเจ้าภาพ โดยมีทีมจากชาติสมาชิกฟีฟ่าทั้งหมด 206 ทีมลงแข่งขัน

ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่6 มิถุนายน ค.ศ. 2019 – 14 มิถุนายน ค.ศ. 2022
ทีม206[note 1] (จาก 6 สมาพันธ์)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน865
จำนวนประตู2424 (2.8 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม8,912,978 (10,304 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาลี มับคูต (14 ประตู)
2018
2026
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 14 มิถุนายน 2022

กาแข่งขันเริ่มต้นขึ้นในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2019 และมีกำหนดสิ้นสุดในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2022[1] โดยการแข่งขันบางส่วนได้ถูกเลื่อนออกไปเนื่องจากการระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ แก้

 
สถานะของประเทศที่เกี่ยวข้องกับฟุตบอลโลก 2022:
  ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
  ทีมที่ยังมีโอกาสผ่านเข้ารอบ
  ทีมไม่ผ่านรอบคัดเลือกก่อนจบทัวร์นาเมนต์
  ทีมไม่ผ่านรอบคัดเลือกหลังจบทัวร์นาเมนต์
  ทีมที่ถูกตัดสิทธิ์จากฟีฟ่า
  ประเทศที่ไม่ใช่สมาชิกของฟีฟ่า
ทีม วิธีการเข้ารอบ วันที่ผ่านเข้ารอบ ครั้งที่เข้ารอบสุดท้าย ครั้งล่าสุดที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย จำนวนครั้งที่เข้ารอบสุดท้ายติดต่อกัน ผลงานที่ดีที่สุดในครั้งที่ผ่านมา
  กาตาร์ เจ้าภาพ 2 ธันวาคม 2010 1 ไม่เคย 1 ไม่เคย
  เยอรมนี ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม เจ 11 ตุลาคม 2021 20[a] 2018 18 ชนะเลิศ (1954, 1974, 1990, 2014)
  เดนมาร์ก ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม เอฟ 12 ตุลาคม 2021 6 2018 2 รอบก่อนรองชนะเลิศ (1998)
  บราซิล ชนะเลิศ โซนอเมริกาใต้ 11 พฤศจิกายน 2021 22 2018 22 ชนะเลิศ (1958, 1962, 1970, 1994, 2002)
  เบลเยียม ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม อี 13 พฤศจิกายน 2021 14 2018 3 อันดับที่ 3 (2018)
  ฝรั่งเศส ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม ดี 13 พฤศจิกายน 2021 16 2018 7 ชนะเลิศ (1998, 2018)
  โครเอเชีย ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม เอช 14 พฤศจิกายน 2021 6 2018 3 รองชนะเลิศ (2018)
  สเปน ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม บี 14 พฤศจิกายน 2021 16 2018 12 ชนะเลิศ (2010)
  เซอร์เบีย ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม เอ 14 พฤศจิกายน 2021 13[b] 2018 4 อันดับที่ 4 (1930, 1962)
  อังกฤษ ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม ไอ 15 พฤศจิกายน 2021 16 2018 7 ชนะเลิศ (1966)
  สวิตเซอร์แลนด์ ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม ซี 15 พฤศจิกายน 2021 12 2018 5 รอบก่อนรองชนะเลิศ (1934, 1938, 1954)
  เนเธอร์แลนด์ ชนะเลิศ โซนยุโรป กลุ่ม จี 16 พฤศจิกายน 2021 11 2014 1 รองชนะเลิศ (1974, 1978, 2010)
  อาร์เจนตินา รองชนะเลิศ โซนอเมริกาใต้ 16 พฤศจิกายน 2021 18 2018 13 ชนะเลิศ (1978, 1986)
  อิหร่าน ชนะเลิศ โซนเอเชีย รอบที่ 3 กลุ่ม เอ 27 มกราคม 2022 6 2018 3 รอบแบ่งกลุ่ม (1978, 1998, 2006, 2014, 2018)
  เกาหลีใต้ รองชนะเลิศ โซนเอเชีย รอบที่ 3 กลุ่ม เอ 1 กุมภาพันธ์ 2022 11 2018 10 อันดับที่ 4 (2002)
  ญี่ปุ่น รองชนะเลิศ โซนเอเชีย รอบที่ 3 กลุ่ม บี 24 มีนาคม 2022 7 2018 7 รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2002, 2010, 2018)
  ซาอุดีอาระเบีย ชนะเลิศ โซนเอเชีย รอบที่ 3 กลุ่ม บี 24 มีนาคม 2022 6 2018 2 รอบ 16 ทีมสุดท้าย (1994)
  เอกวาดอร์ อันดับที่ 4 โซนอเมริกาใต้ 24 มีนาคม 2022 4 2014 1 รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2006)
  อุรุกวัย อันดับที่ 3 โซนอเมริกาใต้ 24 มีนาคม 2022 14 2018 4 ชนะเลิศ (1930, 1950)
  แคนาดา ชนะเลิศ โซนคอนคาแคฟ รอบที่ 3 27 มีนาคม 2022 2 1986 1 รอบแบ่งกลุ่ม (1986)
  กานา ผู้ชนะ โซนแอฟริกา รอบที่ 3 29 มีนาคม 2022 4 2014 1 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2010)
  เซเนกัล ผู้ชนะ โซนแอฟริกา รอบที่ 3 29 มีนาคม 2022 3 2018 2 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2002)
  โปรตุเกส ผู้ชนะ โซนยุโรป รอบที่ 2 สายซี 29 มีนาคม 2022 8 2018 6 อันดับที่สาม (1966)
  โปแลนด์ ผู้ชนะ โซนยุโรป รอบที่ 2 สายบี 29 มีนาคม 2022 9 2018 2 อันดับที่สาม (1974, 1982)
  ตูนิเซีย ผู้ชนะ โซนแอฟริกา รอบที่ 3 29 มีนาคม 2022 6 2018 2 รอบแบ่งกลุ่ม (1978, 1998, 2002, 2006, 2018)
  โมร็อกโก ผู้ชนะ โซนแอฟริกา รอบที่ 3 29 มีนาคม 2022 6 2018 2 รอบ 16 ทีมสุดท้าย (1986)
  แคเมอรูน ผู้ชนะ โซนแอฟริกา รอบที่ 3 29 มีนาคม 2022 8 2014 1 รอบก่อนรองชนะเลิศ (1990)
  สหรัฐ อันดับที่ 3 โซนคอนคาแคฟ รอบที่ 3 30 มีนาคม 2022 11 2014 1 อันดับที่ 3 (1930)
  เม็กซิโก รองชนะเลิศ โซนคอนคาแคฟ รอบที่ 3 30 มีนาคม 2022 17 2018 8 รอบก่อนรองชนะเลิศ (1970, 1986)
  เวลส์ ผู้ชนะ โซนยุโรป รอบที่ 2 สายเอ 5 มิถุนายน 2022 2 1958 1 รอบก่อนรองชนะเลิศ (1958)
  ออสเตรเลีย ผู้ชนะ เพลย์ออฟ เอเอฟซี–คอนเมบอล 13 มิถุนายน 2022 6 2018 5 รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2006)
  คอสตาริกา ผู้ชนะ เพลย์ออฟ คอนคาแคฟ–โอเอฟซี 14 มิถุนายน 2022 6 2018 3 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2014)

กระบวนการคัดเลือก แก้

สมาชิกฟีฟ่าทั้งหมดซึ่งปัจจุบันมีทั้งสิ้น 211 ทีมมีสิทธิ์เข้าร่วมการคัดเลือก ยกเว้นกาตาร์ในฐานะเจ้าภาพที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ อย่างไรก็ตาม กาตาร์ ยังต้องเข้าร่วมการแข่งขันรอบคัดเลือกในโซนเอเชีย เนื่องจากสองรอบแรกนั้นเป็นรอบคัดเลือกสำหรับการแข่งขัน เอเชียนคัพ 2023 ไปในตัวด้วย หากพวกเขาจบในฐานะผู้ชนะหรือรองชนะเลิศในกลุ่มของพวกเขา ในการแข่งขันรอบที่สาม ทีมที่ได้ลำดับที่สามที่มีคะแนนที่ดีกว่าทีมลำดับที่สามของอีกกลุ่มหนึ่งจะได้ผ่านเข้ารอบแทน[2] การแข่งขันในครั้งนี้และเป็นครั้งแรกหลังจากการแข่งขันสองครั้งแรกในปี 1930 และ 1934 ที่เจ้าภาพฟุตบอลโลกเป็นประเทศที่ทีมชาติไม่เคยเล่นรอบสุดท้ายมาก่อน[3] โดยทีมแชมป์ฟุตบอลโลกครั้งล่าสุด อย่างฝรั่งเศส ก็จะลงเล่นรอบคัดเลือกตามปกติ [4]

การแบ่งโควต้าสำหรับแต่ละสมาพันธ์ได้มีการหารือโดยคณะกรรมการบริหารของฟีฟ่า เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 2015 ที่เมือง ซือริช หลังการประชุมใหญ่ของฟีฟ่า [5] คณะกรรมการบริหารตกลงกันว่าหลักการรอบคัดเลือกที่ได้ถูกใช้ในปี 2006, 2010, 2014 จะถูกนำมาใช้ในการแข่งขันในปี 2018 และ 2022[6]

ภูมิหลังการคัดเลือก แก้

องค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก ได้สั่งห้ามรัสเซียมิให้แข่งขันกีฬาที่สำคัญทั้งหมดเป็นเวลา 4 ปีหลังจากพบว่า หน่วยงานต่อต้านการใช้สารต้องห้ามของรัสเซีย ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดในการส่งมอบข้อมูลห้องปฏิบัติการที่มีการจัดการให้กับผู้ตรวจสอบ[7] อย่างไรก็ตามทีมชาติรัสเซียยังคงสามารถผ่านการคัดเลือกได้เนื่องจากการลงโทษจะมีผลเฉพาะการแข่งขันรอบสุดท้ายเพื่อตัดสินแชมป์โลก หากรัสเซียผ่านเข้ารอบนักฟุตบอลรัสเซียยังคงสามารถแข่งขันในการแข่งขันได้โดยรอการตัดสินจากฟีฟ่า อย่างไรก็ตาม ทีมที่เป็นตัวแทนของรัสเซียซึ่งใช้ธงชาติและเพลงชาติของรัสเซียไม่สามารถเข้าร่วมภายใต้การตัดสินของ WADA ได้[8] ปัจจุบัน คำตัดสินอยู่ระหว่างการอุทธรณ์ต่อศาลอนุญาโตตุลาการกีฬา[9]

 
สมาพันธ์ สิทธิ์ในการเข้ารอบสุดท้าย ทีมที่เข้าร่วมคัดเลือก ทีมที่ตกรอบ ทีมที่ผ่านเข้ารอบ วันเริ่มต้นการคัดเลือก วันสิ้นสุดการคัดเลือก
เอเอฟซี 4 หรือ 5 +1 45+1 40 5+1 6 มิถุนายน ค.ศ. 2019 13 มิถุนายน ค.ศ. 2022
ซีเอเอฟ 5 54 49 5 4 กันยายน ค.ศ. 2019 29 มีนาคม ค.ศ. 2022
คอนคาแคฟ 3 หรือ 4 34 30 4 24 มีนาคม ค.ศ. 2021 14 มิถุนายน ค.ศ. 2022
คอนเมบอล 4 หรือ 5 10 6 4 8 ตุลาคม ค.ศ. 2020 13 มิถุนายน ค.ศ. 2022
โอเอฟซี 0 หรือ 1 7 7 0 17 มีนาคม ค.ศ. 2022 14 มิถุนายน ค.ศ. 2022
ยูฟ่า 13 55 42 13 24 มีนาคม ค.ศ. 2021 5 มิถุนายน ค.ศ. 2022
รวม 31+1 205+1 174 31+1 6 มิถุนายน ค.ศ. 2019 14 มิถุนายน ค.ศ. 2022
  1. เยอรมนีแข่งขันในชื่อ "เยอรมนีตะวันตก" ตั้งแต่ ค.ศ. 1950 ถึง 1990
  2. นี่เป็นครั้งที่ 3 ที่เซอร์เบียการผ่านเข้าสู่รอบสุดท้ายของฟุตบอลโลก อย่างไรก็ตาม ฟีฟ่ากำหนดให้เซอร์เบียเป็นทีมชาติที่สืบทอดจากทีมชาติยูโกสลาเวียและทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร ซึ่งทั้งสองทีมเคยเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายทั้งหมด 10 ครั้ง

การคัดเลือกของสมาพันธ์ แก้

เอเอฟซี แก้

เอเอฟซีกำหนดให้กาตาร์ซึ่งเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2022 เข้าร่วมในรอบคัดเลือกด้วย เนื่องจากสองรอบแรกนั้นจะเป็นการหาทีมที่ผ่านเข้าไปแข่งขัน เอเชียนคัพ 2023 ไปในตัว[10]

ติมอร์ - เลสเต ถูกห้ามไม่ให้เข้าร่วมการแข่งขัน เอเชียนคัพ 2023 รอบคัดเลือก หลังจากพบว่ามีผู้เล่นที่ไม่มีสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันทั้งหมด 12 คนในการ แข่งขันรอบคัดเลือกของเอเชียนคัพ 2019[11] อย่างไรก็ตาม เนื่องจากทางฟีฟ่าไม่ได้ห้ามพวกเขาลงแข่งขันในรอบคัดเลือกฟุตบอลโลกปี 2022 ติมอร์-เลสเตจึงยังคงได้รับการอนุญาตให้เข้าร่วมการแข่งขัน เพียงแต่พวกเขาจะไม่มีสิทธิ์ที่จะผ่านเข้ารอบเอเชียนคัพเท่านั้นเอง

โครงสร้างการคัดเลือกเป็นไปดังนี้:[12]

  • รอบแรก: มี 12 ทีม (ทีมอันดับ 35-46) มาเล่นรอบคัดเลือกเพื่อหา 6 ทีมเพื่อผ่านเข้าสู่รอบต่อไป
  • รอบสอง: มี 40 ทีม (ทีมอันดับ 1-34 และ 6 ทีมที่ผ่านรอบแรก) มาแบ่งเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม โดยจะคัดเอาผู้ชนะของแต่ละกลุ่ม มี 8 ทีม และทีมอันดับสองที่มีผลงานดีที่สุดอีก 4 ทีมผ่านเข้ารอบสามต่อไป
  • รอบสาม: จากการแข่งขันรอบสองจะมี 12 ทีมที่ผ่านเข้ามาถึงรอบสุดท้ายจะถูกแบ่งเป็นสองกลุ่ม กลุ่มละ 6 ทีม โดยแชมป์และรองแชมป์ของกลุ่มจะผ่านเข้าไปเล่นฟุตบอลโลก 2022 ที่ประเทศกาตาร์
  • รอบสี่: อันดับสามของทั้งสองกลุ่มจะมาเพลย์ออฟเพื่อหาผู้ชนะไปแข่งกับตัวแทนจากทวีปอื่น

รอบที่ 3 แก้

กลุ่ม เอ กลุ่ม บี
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   อิหร่าน 10 25
2   เกาหลีใต้ 10 23
3   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 10 12
4   อิรัก 10 9
5   ซีเรีย 10 6
6   เลบานอน 10 6
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   ซาอุดีอาระเบีย 10 23
2   ญี่ปุ่น 10 22
3   ออสเตรเลีย 10 15
4   โอมาน 10 14
5   จีน 10 6
6   เวียดนาม 10 4
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

รอบที่ 4 แก้

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์   1–2   ออสเตรเลีย


ซีเอเอฟ แก้

รอบที่ 3 แก้

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
อียิปต์   1–1
(ดวลลูกโทษ 1–3)
  เซเนกัล 1–0 0–1
(ต่อเวลา)
แคเมอรูน   2–2 ()   แอลจีเรีย 0–1 2–1
(ต่อเวลา)
กานา   1–1 ()   ไนจีเรีย 0–0 1–1
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก   2–5   โมร็อกโก 1–1 1–4
มาลี   0–1   ตูนิเซีย 0–1 0–0


คอนคาแคฟ แก้

รอบที่ 3 แก้

อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   แคนาดา 14 28
2   เม็กซิโก 14 28
3   สหรัฐ 14 25
4   คอสตาริกา 14 25
5   ปานามา 14 21
6   จาเมกา 14 11
7   เอลซัลวาดอร์ 14 10
8   ฮอนดูรัส 14 4
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า, คอนคาแคฟ

คอนเมบอล แก้

สภาบริหารคอนเมบอล ได้ตัดสินใจในวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 2019 ที่จะยังคงรักษารูปแบบการแข่งขันเหมือนเดิมกับการแข่งขัน 6 ครั้งก่อนหน้านี้[13] แข่งขันระหว่างเดือนตุลาคม ค.ศ. 2020 ถึงมิถุนายน ค.ศ. 2022 (ก่อนหน้านี้กำหนดไว้ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2020 ถึงพฤศจิกายน ค.ศ. 2021 แต่ในภายหลังได้เลื่อนออกไปเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19)

ตารางคะแนน แก้

อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   บราซิล (Q) 17 45
2   อาร์เจนตินา (Q) 17 39
3   อุรุกวัย (Q) 18 28
4   เอกวาดอร์ (Q) 18 26
5   เปรู (A) 18 24
6   โคลอมเบีย (E) 18 23
7   ชิลี (E) 18 19
8   ปารากวัย (E) 18 16
9   โบลิเวีย (E) 18 15
10   เวเนซุเอลา (E) 18 10
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 29 มีนาคม 2022. แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.

โอเอฟซี แก้

รอบสุดท้าย แก้

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
27 มีนาคม 2022 – โดฮา (อัล-อาระบี)
 
 
  หมู่เกาะโซโลมอน3
 
30 มีนาคม 2022 – โดฮา (อัล-อาระบี)
 
  ปาปัวนิวกินี2
 
  หมู่เกาะโซโลมอน0
 
27 มีนาคม 2022 – โดฮา (อัล-อาระบี)
 
  นิวซีแลนด์5
 
  นิวซีแลนด์1
 
 
  ตาฮีตี0
 

ยูฟ่า แก้

รอบแรก แก้

กลุ่ม เอ กลุ่ม บี กลุ่ม ซี
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   เซอร์เบีย 8 20
2   โปรตุเกส 8 17
3   สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 8 9
4   ลักเซมเบิร์ก 8 9
5   อาเซอร์ไบจาน 8 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า, ยูฟ่า
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   สเปน 8 19
2   สวีเดน 8 15
3   กรีซ 8 10
4   จอร์เจีย 8 7
5   คอซอวอ 8 5
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า, ยูฟ่า
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   สวิตเซอร์แลนด์ 8 18
2   อิตาลี 8 16
3   ไอร์แลนด์เหนือ 8 9
4   บัลแกเรีย 8 8
5   ลิทัวเนีย 8 3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า, ยูฟ่า
กลุ่ม ดี กลุ่ม อี กลุ่ม เอฟ
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   ฝรั่งเศส 8 18
2   ยูเครน 8 12
3   ฟินแลนด์ 8 11
4   บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 8 7
5   คาซัคสถาน 8 3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า, ยูฟ่า
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   เบลเยียม 8 20
2   เวลส์ 8 15
3   เช็กเกีย 8 14
4   เอสโตเนีย 8 4
5   เบลารุส 8 3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า, ยูฟ่า
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   เดนมาร์ก 10 27
2   สกอตแลนด์ 10 23
3   อิสราเอล 10 16
4   ออสเตรีย 10 16
5   หมู่เกาะแฟโร 10 4
6   มอลโดวา 10 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า, ยูฟ่า
กลุ่ม จี กลุ่ม เอช กลุ่ม ไอ
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   เนเธอร์แลนด์ 10 23
2   ตุรกี 10 21
3   นอร์เวย์ 10 18
4   มอนเตเนโกร 10 12
5   ลัตเวีย 10 9
6   ยิบรอลตาร์ 10 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า, ยูฟ่า
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   โครเอเชีย 10 23
2   รัสเซีย 10 22
3   สโลวาเกีย 10 14
4   สโลวีเนีย 10 14
5   ไซปรัส 10 5
6   มอลตา 10 5
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า, ยูฟ่า
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   อังกฤษ 10 26
2   โปแลนด์ 10 20
3   แอลเบเนีย 10 18
4   ฮังการี 10 17
5   อันดอร์รา 10 6
6   ซานมารีโน 10 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า, ยูฟ่า
กลุ่ม เจ
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   เยอรมนี 10 27
2   มาซิโดเนียเหนือ 10 18
3   โรมาเนีย 10 17
4   อาร์มีเนีย 10 12
5   ไอซ์แลนด์ 10 9
6   ลีชเทินชไตน์ 10 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า, ยูฟ่า

รอบที่ 2 แก้

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
24 มีนาคม พ.ศ. 2565 – คาร์ดิฟฟ์
 
 
  เวลส์2
 
5 มิถุนายน พ.ศ. 2565 – คาร์ดิฟฟ์
 
  ออสเตรีย1
 
  เวลส์1
 
1 มิถุนายน พ.ศ. 2565 – กลาสโกว์
 
  ยูเครน0
 
  สกอตแลนด์1
 
 
  ยูเครน3
 
 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
ยกเลิก
 
 
  รัสเซีย
 
29 มีนาคม พ.ศ. 2565 – Chorzów
 
  โปแลนด์[note 2]ชนะบาย
 
  โปแลนด์2
 
24 มีนาคม พ.ศ. 2565 – โซลนา
 
  สวีเดน0
 
  สวีเดน
(ต่อเวลา)
1
 
 
  เช็กเกีย0
 
 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
24 มีนาคม พ.ศ. 2565 – โปร์ตู
 
 
  โปรตุเกส3
 
29 มีนาคม พ.ศ. 2565 – โปร์ตู
 
  ตุรกี1
 
  โปรตุเกส2
 
24 มีนาคม พ.ศ. 2565 – ปาแลร์โม
 
  มาซิโดเนียเหนือ0
 
  อิตาลี0
 
 
  มาซิโดเนียเหนือ1
 

รอบเพลย์ออฟข้ามทวีป แก้

การแข่งขันรอบเพลย์ออฟระหว่าง 2 สมาพันธ์เพื่อหา 2 ทีมสุดท้ายที่จะได้ผ่านเข้าไปแข่งในฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย จะเกิดขึ้นในวันที่ 13–14 มิถุนายน ค.ศ. 2022[16][17]

เอเอฟซี พบ คอนเมบอล แก้

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
ออสเตรเลีย   0–0
(ต่อเวลา)
(ดวลลูกโทษ 5–4)
  เปรู


คอนคาแคฟ พบ โอเอฟซี แก้

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
คอสตาริกา   1–0   นิวซีแลนด์


ผู้ทำประตูสูงสุด แก้

มีการทำประตูทั้งหมด 2402 ประตู จากการแข่งขัน 855 นัด เฉลี่ย 2.81 ประตูต่อนัด ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน


การทำประตู 14 ครั้ง

การทำประตู 13 ครั้ง

การทำประตู 12 ครั้ง

การทำประตู 10 ครั้ง

การทำประตู 9 ครั้ง

การทำประตู 8 ครั้ง

ด้านล่างนี้คือรายชื่อผู้ทำประตูสำหรับทุกสมาพันธ์และเพลย์ออฟระหว่างสมาพันธ์:

หมายเหตุ แก้

  1. เกาหลีเหนือถอนตัวระหว่างการแข่งขัน รัสเซียถูกแบนระหว่างการแข่งขัน เซนต์ลูเซีย, อเมริกันซามัว, ซามัว, ตองงา และวานูวาตู ถอนตัวก่อนการแข่งขัน
  2. รัสเซียถูกตัดสิทธิ์จากการแข่งขันสืบเนื่องจากการรุกรานยูเครนของรัสเซีย[14] ทำให้โปแลนด์ผ่านเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศด้วยการชนะบาย[15]

อ้างอิง แก้

  1. "INTERNATIONAL MATCH CALENDAR 2018–2024" (PDF). FIFA. 19 October 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-01-05. สืบค้นเมื่อ 2019-01-16.
  2. Palmer, Dan (31 July 2017). "Hosts Qatar to compete in qualifying for 2022 World Cup". insidethegames.biz. Dunsar Media Company. สืบค้นเมื่อ 15 August 2017.
  3. Harding, David (6 September 2017). "World Cup failure puts Qatar back in spotlight". Yahoo Sports. Agence France-Presse. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-18. สืบค้นเมื่อ 4 January 2018.
  4. "2022 World Cup odds: France favorite to repeat in Qatar; USA behind Mexico with 16th-best odds". CBSSports.com. 15 July 2018. สืบค้นเมื่อ 7 September 2018.
  5. "2022 FIFA World Cup to be played in November/December". FIFA. 20 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-10. สืบค้นเมื่อ 2019-01-16.
  6. "Current allocation of FIFA World Cup™ confederation slots maintained". FIFA. 30 May 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-16. สืบค้นเมื่อ 2019-01-16.
  7. "Russia banned for four years to include 2020 Olympics and 2022 World Cup". BBC. 9 December 2019. สืบค้นเมื่อ 9 December 2019.
  8. "Can Russia play at the World Cup 2022 and Euro 2020?". BBC. 9 December 2019. สืบค้นเมื่อ 9 December 2019.
  9. "WADA files official request with Court of Arbitration for Sport to resolve RUSADA dispute". World Anti-Doping Agency. 9 January 2020. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
  10. Palmer, Dan (31 July 2017). "Hosts Qatar to compete in qualifying for 2022 World Cup". insidethegames.biz. สืบค้นเมื่อ 20 August 2017.
  11. "Federacao Futebol Timor-Leste expelled from AFC Asian Cup 2023". The-AFC.com. 20 January 2017.
  12. "Pakistan to learn World Cup, Asian Cup qualifying fate on April 17". Dawn.com. 22 March 2019.
  13. "Clasificatorio sudamericano al Mundial de Qatar arrancará en marzo del 2020" (ภาษาสเปน). Conmebol.com. 24 January 2019.
  14. "FIFA/UEFA suspend Russian clubs and national teams from all competitions". FIFA. 28 February 2022. สืบค้นเมื่อ 28 February 2022.
  15. "Decisions taken concerning FIFA World Cup Qatar 2022 qualifiers". FIFA. 8 March 2022. สืบค้นเมื่อ 8 March 2022.
  16. "Draw date set for new-look FIFA World Cup Qatar 2022 intercontinental play-offs". FIFA. 19 November 2021.
  17. Allen, William (26 November 2021). "2022 World Cup inter-confederation play-off draw: fixtures and format". as.com. สืบค้นเมื่อ 30 November 2021.