ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2016

การแข่งขัน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2016 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 39 ของ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี เป็นการแข่งขันทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลยุวชนที่จัดขึ้นสองปีต่อครั้ง จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติประเภทชายรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี จากแต่ละชาติสมาชิกของพวกเขา ทัวร์นาเมนต์จัดขึ้นในประเทศบาห์เรน ตามประกาศของ เอเอฟซี เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2558[1][2] การแข่งขันในปัจจุบันมีกำหนดที่จะลงเล่นระหว่างวันที่ 13–30 ตุลาคม พ.ศ. 2559[3] ทั้งหมด 16 ทีมที่ได้ลงเล่นในทัวร์นาเมนต์

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2016
بطولة آسيا تحت 19 سنة لكرة القدم 2016
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพบาห์เรน
วันที่13–30 ตุลาคม พ.ศ. 2559
ทีม16 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่2 (ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ ญี่ปุ่น (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศ ซาอุดีอาระเบีย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน31
จำนวนประตู84 (2.71 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม39,304 (1,268 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดซาอุดีอาระเบีย Sami Al-Najai
ซาอุดีอาระเบีย Abdulrahman Al-Yami
(คนละ 4 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมญี่ปุ่น Ritsu Doan
2014
2018

สี่ทีมที่เข้ารอบรองชนะเลิศของการแข่งขันจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์โลกอายุไม่เกิน 20 ปี 2017 ในเกาหลีใต้ ขณะที่เกาหลีใต้จะได้คุณสมบัติอัตโนมัติสำหรับฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์โลกอายุไม่เกิน 20 ปี 2017 ในฐานะเจ้าภาพ หากพวกเขาติดอันดับหนึ่งในสี่ของการแข่งขัน ทีมอันดับที่ห้า (กล่าวคือ การเป็นผู้แพ้รอบก่อนรองชนะเลิศที่มีสถิติดีที่สุดในทัวร์นาเมนต์) ก็จะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์โลกอายุไม่เกิน 20 ปี 2017

รอบคัดเลือก แก้

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกมีขึ้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2558[4] ทั้งหมด 43 ทีมที่ถูกจับสลากอยู่ในสิบกลุ่ม กับทีมชนะเลิศสิบกลุ่มและห้าทีมรองชนะเลิศที่ดีที่สุดในการคัดเลือกสำหรับรอบสุดท้าย ร่วมกับบาห์เรนที่ได้สิทธิ์อัตโนมัติในฐานะเจ้าภาพ แต่ยังจะต้องแข่งขันในรอบคัดเลือก

รอบคัดเลือกจะลงเล่นระหว่างวันที่ 28 กันยายน–6 ตุลาคม พ.ศ. 2558[5]

ทีมที่เข้ารอบ แก้

ด้านล่างนี้คือทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้าย

ทีม ในฐานะ การลงสนามครั้งล่าสุด ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
  บาห์เรน เจ้าภาพ ครั้งที่ 8 รองชนะเลิศ (1986)
  ญี่ปุ่น กลุ่ม เจ ชนะเลิศ ครั้งที่ 33 รองชนะเลิศ (1973, 1994, 1998, 2000, 2002, 2006)
  อิรัก กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ ครั้งที่ 17 ชนะเลิศ (1975, 1977, 1978, 1988, 2000)
  จีน กลุ่ม ไอ ชนะเลิศ ครั้งที่ 16 ชนะเลิศ (1985)
  เวียดนาม กลุ่ม จี ชนะเลิศ ครั้งที่ 7 อันดับที่ 3 (1964)
  อุซเบกิสถาน กลุ่ม เอ ชนะเลิศ ครั้งที่ 7 รองชนะเลิศ (2008)
  เกาหลีใต้ กลุ่ม เอช ชนะเลิศ อันดับที่ 34 ชนะเลิศ (1959, 1960, 1963, 1978, 1980, 1982, 1990, 1996, 1998, 2002, 2004, 2012)
  ทาจิกิสถาน กลุ่ม เอฟ (ดีที่สุด อันดับที่ 1) รองชนะเลิศ ครั้งที่ 3 รอบแบ่งกลุ่ม (2006, 2008)
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กลุ่ม ซี ชนะเลิศ ครั้งที่ 13 ชนะเลิศ (2008)
  ออสเตรเลีย กลุ่ม เจ (ดีที่สุด อันดับที่ 2) รองชนะเลิศ ครั้งที่ 6 รองชนะเลิศ (2010)
  กาตาร์ กลุ่ม ดี ชนะเลิศ ครั้งที่ 13 ชนะเลิศ (2014)
  ไทย กลุ่ม เอช (ดีที่สุด อันดับที่ 3) รองชนะเลิศ ครั้งที่ 27 ชนะเลิศ (1962, 1969)
  ซาอุดีอาระเบีย กลุ่ม บี ชนะเลิศ ครั้งที่ 12 ชนะเลิศ (1986, 1992)
  เกาหลีเหนือ กลุ่ม ไอ (ดีที่สุด อันดับที่ 4) รองชนะเลิศ ครั้งที่ 12 ชนะเลิศ (1976, 2006, 2010)
  อิหร่าน กลุ่ม อี ชนะเลิศ ครั้งที่ 18 ชนะเลิศ (1973, 1974, 1975, 1976)
  เยเมน กลุ่ม บี (ดีที่สุด ครั้งที่ 5) รองชนะเลิศ ครั้งที่ 5 รอบแบ่งกลุ่ม (2004, 2008, 2010, 2014)

สนามแข่งขัน แก้

การแข่งขันจะลงเล่นในสองสนาม:

ริฟฟา
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2016 (บาห์เรน)
สนามกีฬาแห่งชาติบาห์เรน
ความจุ: 30,000
 
อิซา ทาวน์
สนามกีฬาเมืองกีฬาคาลิฟา
ความจุ: 20,000

การจับสลาก แก้

การจับสลากรอบสุดท้ายจะมีขึ้นในวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 2016 ในเมืองมานามา ประเทศบาห์เรน.

โถ 1 (เจ้าภาพ และ ทีมวาง) โถ 2 โถ 3 โถ 4

  บาห์เรน (เจ้าภาพ; ตำแหน่ง เอ1)
  กาตาร์
  เกาหลีเหนือ
  อุซเบกิสถาน

  ญี่ปุ่น
  ไทย
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
  จีน

  ออสเตรเลีย
  อิรัก
  เกาหลีใต้
  เยเมน

  อิหร่าน
  เวียดนาม
  ซาอุดีอาระเบีย
  ทาจิกิสถาน

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

แชมป์และรองแชมป์กลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่ รอบก่อนรองชนะเลิศ

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, AST (UTC+3).

กลุ่ม เอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   บาห์เรน (H, A) 3 2 0 1 7 6 +1 6 รอบแพ้คัดออก
2   ซาอุดีอาระเบีย (A) 3 2 0 1 8 4 +4 6
3   เกาหลีใต้ (E) 3 2 0 1 6 4 +2 6
4   ไทย (E) 3 0 0 3 3 10 −7 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฏ-กติการอบแบ่งกลุ่ม
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ.


กลุ่ม บี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อิรัก 3 2 1 0 5 0 +5 7 รอบแพ้คัดออก
2   เวียดนาม 3 1 2 0 3 2 +1 5
3   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 1 1 1 4 3 +1 4
4   เกาหลีเหนือ 3 0 0 3 2 9 −7 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฏ-กติการอบแบ่งกลุ่ม


กลุ่ม ซี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ญี่ปุ่น 3 2 1 0 6 0 +6 7 รอบแพ้คัดออก
2   อิหร่าน 3 1 2 0 2 1 +1 5
3   กาตาร์ 3 1 1 1 2 4 −2 4
4   เยเมน 3 0 0 3 0 5 −5 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฏ-กติการอบแบ่งกลุ่ม
กาตาร์  1–1  อิหร่าน
Razzaghpour   38' (เข้าประตูตัวเอง) รายงาน Razzaghpour   58'


กลุ่ม ดี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อุซเบกิสถาน (A) 3 2 1 0 5 3 +2 7 รอบแพ้คัดออก
2   ทาจิกิสถาน 3 1 1 1 3 2 +1 4
3   ออสเตรเลีย 3 1 1 1 3 3 0 4
4   จีน (E) 3 0 1 2 0 3 −3 1
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฏ-กติการอบแบ่งกลุ่ม
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.


รอบแพ้คัดออก แก้

ในรอบแพ้คัดออก, ต่อเวลาพิเศษ และ การยิงจุดโทษตัดสิน เป็นวิธีที่จะใช้ตัดสินหาผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น[6]

สายการแข่งขัน แก้

 
รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
23 ตุลาคม – ริฟฟา
 
 
  บาห์เรน0
 
27 ตุลาคม – ริฟฟา
 
  เวียดนาม1
 
  เวียดนาม0
 
24 ตุลาคม – ริฟฟา
 
  ญี่ปุ่น3
 
  ญี่ปุ่น4
 
30 ตุลาคม – ริฟฟา
 
  ทาจิกิสถาน0
 
  ญี่ปุ่น (ลูกโทษ)0 (5)
 
23 ตุลาคม – อิซา ทาวน์
 
  ซาอุดีอาระเบีย0 (3)
 
  อิรัก2 (5)
 
27 ตุลาคม – อิซา ทาวน์
 
  ซาอุดีอาระเบีย (ลูกโทษ)2 (6)
 
  ซาอุดีอาระเบีย6
 
24 ตุลาคม – อิซา ทาวน์
 
  อิหร่าน5
 
  อุซเบกิสถาน0
 
 
  อิหร่าน2
 

รอบ 8 ทีมสุดท้าย แก้

ผู้ชนะจะได้ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2017.




รอบรองชนะเลิศ แก้


รอบชิงชนะเลิศ แก้

อันดับผู้ทำประตู แก้

4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง

อันดับหลังจบการแข่งขัน แก้

As per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-outs are counted as draws.

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ผลงานในรอบสุดท้าย
1   ญี่ปุ่น 6 4 2 0 13 0 +13 14 ชนะเลิศ
2   ซาอุดีอาระเบีย 6 3 2 1 16 11 +5 11 รองชนะเลิศ
3   อิหร่าน 5 2 2 1 9 7 +2 8 รอบรองชนะเลิศ
4   เวียดนาม 5 2 2 1 4 5 −1 8
5   อิรัก 4 2 2 0 7 2 +5 8 ตกรอบใน
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
6   อุซเบกิสถาน 4 2 1 1 5 5 0 7
7   บาห์เรน (H) 4 2 0 2 7 7 0 6
8   ทาจิกิสถาน 4 1 1 2 3 6 −3 4
9   เกาหลีใต้ 3 2 0 1 6 4 +2 6 ตกรอบใน
รอบแบ่งกลุ่ม
10   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 1 1 1 4 3 +1 4
11   ออสเตรเลีย 3 1 1 1 3 3 0 4
12   กาตาร์ 3 1 1 1 2 4 −2 4
13   จีน 3 0 1 2 0 3 −3 1
14   เยเมน 3 0 0 3 0 5 −5 0
15   ไทย 3 0 0 3 3 10 −7 0
16   เกาหลีเหนือ 3 0 0 3 2 9 −7 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 30 ตุลาคม 2559. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
(H) เจ้าภาพ.

ทีมที่เข้ารอบสำหรับฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี แก้

ห้าทีมต่อไปนี้มาจากเอเอฟซีได้ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2017. เกาหลีใต้เข้ารอบในฐานะเจ้าภาพ.

ทีม วันที่ผ่านเข้ารอบ การลงสนามที่ผ่านมาในทัวร์นาเมนต์1
  เกาหลีใต้ 5 ธันวาคม 2556 13 (1979, 1981, 1983, 1991, 1993, 1997, 1999, 2003, 2005, 2007, 2009, 2011, 2013)
  ซาอุดีอาระเบีย 23 ตุลาคม 2559 7 (1985, 1987, 1989, 1993, 1999, 2003, 2011)
  เวียดนาม 23 ตุลาคม 2559 0 (เปิดตัวครั้งแรก)
  ญี่ปุ่น 24 ตุลาคม 2559 8 (1979, 1995, 1997, 1999, 2001, 2003, 2005, 2007)
  อิหร่าน 24 ตุลาคม 2559 2 (1977, 2001)
1 ตัวหนา บ่งบอกถึงแชมป์ในปีนั้น. ตัวเอียง บ่งบอกถึงเจ้าภาพในปีนั้น.

อ้างอิง แก้

  1. "AFC U-19 Championship 2016 to be hosted by Bahrain". AFC. 3 มิถุนายน 2015.
  2. "India confirmed as hosts of AFC U-16 championships". Firstpost.com. สืบค้นเมื่อ 2015-06-02.
  3. "AFC Calendar of Competitions 2016 - 2018" (PDF). AFC.
  4. "Champions Qatar learn Bahrain 2016 qualifying opponents". AFC. 5 มิถุนายน 2015.
  5. "AFC Calendar of Competitions 2015" (PDF). AFC.
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ regulations

แหล่งข้อมูลอื่น แก้