ฟุตบอลทีมชาติโมร็อกโก

ฟุตบอลทีมชาติโมร็อกโก (อาหรับ: منتخب المغرب لكرة القدم; ฝรั่งเศส: Équipe du Maroc de football) ฉายา "ราชสีห์แห่งแอตลัส" (อาหรับ: أسود الأطلس / Irzem n Atlasi) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศโมร็อกโก ปัจจุบันมี วะลีด อัรร็อกรอกี เป็นผู้จัดการทีม

โมร็อกโก
ฉายาأسود الأطلس (Ousud Al-atlas, 'สิงโตแอตลาส')
เสือร้ายจากกาฬทวีป (ฉายาในภาษาไทย)
สมาคมราชสหพันธ์ฟุตบอลโมร็อกโก (FRMF)
สมาพันธ์ย่อยUNAF (แอฟริกาเหนือ)
สมาพันธ์CAF (แอฟริกา)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนวะลีด อัรร็อกรอกี
กัปตันรูมาน ซายิส
ติดทีมชาติสูงสุดนูรุดดีน เนย์เบ็ต (115)[1]
ทำประตูสูงสุดอะห์มัด ฟะร็อซ (36)[1]
สนามเหย้าหลายแห่ง
รหัสฟีฟ่าMAR
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 13 ลดลง 1 (4 เมษายน 2024)[2]
อันดับสูงสุด10 (เมษายน ค.ศ. 1998)
อันดับต่ำสุด95 (กันยายน ค.ศ. 2010)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก 3–3 อิรัก ธงชาติอิรัก
(เบรุต ประเทศเลบานอน; 19 ตุลาคม ค.ศ. 1957)
ชนะสูงสุด
ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก 13–1 ซาอุดีอาระเบีย ธงชาติซาอุดีอาระเบีย
(กาซาบล็องกา, ประเทศโมร็อกโก; 6 กันยายน ค.ศ. 1961)
แพ้สูงสุด
ธงชาติฮังการี ฮังการี 6–0 โมร็อกโก ธงชาติโมร็อกโก
(โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น; 11 ตุลาคม ค.ศ. 1964)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม6 (ครั้งแรกใน 1970)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 4 (2022)
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์
เข้าร่วม18 (ครั้งแรกใน 1972)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1976)
อาหรับคัพ
เข้าร่วม4 (ครั้งแรกใน 1998)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (2012)
African Nations Championship
เข้าร่วม4 (ครั้งแรกใน 2014)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (2018, 2020)
เว็บไซต์frmf.ma

โมร็อกโกเคยชนะเลิศแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ในปี 1976 และยังเป็นทีมแรกจากแอฟริกาที่เป็นแชมป์กลุ่มในฟุตบอลโลก ซึ่งเกิดขึ้นในปี 1986 โดยพวกเขาอยู่กลุ่มเดียวกับโปรตุเกส, โปแลนด์ และอังกฤษ และยังเป็นทีมแรกของแอฟริกาที่ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออกของรายการ โดยพวกเขาตกรอบแพ้เยอรมนีตะวันตก (รองแชมป์หลังจบการแข่งขัน) 1–0 ในปีเดียวกัน ต่อมาในปี 1998 โมร็อกโกตกรอบแบ่งกลุ่มหลังจากที่นอร์เวย์เอาชนะบราซิล และในปี 2018 โมร็อกโกผ่านรอบคัดเลือกได้ไปแข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายเป็นครั้งแรกในรอบ 20 ปี แม้ว่าสุดท้ายแล้ว ทีมจะตกรอบแบ่งกลุ่มด้วยการไม่ชนะใครก็ตาม แต่ในฟุตบอลโลก 2022 โมร็อกโกสร้างประวัติศาสตร์เป็นชาติแรกจากแอฟริกาและอาหรับที่สามารถผ่านเข้าถึงรอบรองชนะเลิศได้สำเร็จ[3][4]

สนามแข่งขัน แก้

อดีต
ปัจจุบัน

รายชื่อผู้เล่น แก้

รายชื่อผู้เล่น 26 คนที่ถูกเรียกตัวในการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2022

0#0 ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร
1 1GK ยาซีน บูนู 5 เมษายน ค.ศ. 1991 (อายุ 31 ปี) 46 0   เซบิยา
2 2DF อัชร็อฟ ฮะกีมี 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1998 (อายุ 24 ปี) 54 8   ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
3 2DF นุศ็อยร์ มัซรอวี 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1997 (อายุ 25 ปี) 15 2   ไบเอิร์นมิวนิก
4 3MF ซุฟยาน อัมรอบัฏ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) 39 0   ฟีออเรนตีนา
5 2DF นายิฟ อะกัรด์ 30 มีนาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) 22 1   เวสต์แฮมยูไนเต็ด
6 2DF รอแม็ง ซาอิส (กัปตัน) 26 มีนาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) 66 1   เบชิกทัช
7 3MF ฮะกีม ซิยาช 19 มีนาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) 43 18   เชลซี
8 3MF อิซซุดดีน อูนาฮี 19 เมษายน ค.ศ. 2000 (อายุ 22 ปี) 10 2   อ็องเฌ
9 4FW อับดุรร็อซซาก ฮัมดุลลอฮ์ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 31 ปี) 18 6   อัลอิตติฮาด
10 3MF อะนัส อัซซะรูรี 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000 (อายุ 22 ปี) 1 0   เบิร์นลีย์
11 4FW อับดุลฮะมีด ศอบีรี 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 (อายุ 25 ปี) 2 1   ซัมป์โดเรีย
12 1GK มุนีร มุฮัมมะดี 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1989 (อายุ 33 ปี) 43 0   อัลวะห์ดะฮ์
13 3MF อิลยาส ชาอิร 30 ตุลาคม ค.ศ. 1997 (อายุ 25 ปี) 11 1   ควีนส์พาร์กเรนเจอส์
14 3MF ซะกะรียา อะบูคลาล 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000 (อายุ 22 ปี) 12 2   ตูลูซ
15 3MF ซะลีม อะมัลลาห์ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) 24 4   สต็องดาร์ลีแยฌ
16 4FW อับเด อัซซัลซูลี 17 ธันวาคม ค.ศ. 2001 (อายุ 20 ปี) 2 0   โอซาซูนา
17 3MF ซุฟยาน บูฟาล 17 กันยายน ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) 32 6   อ็องเฌ
18 2DF ญะวาด อัลยะมีก 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992 (อายุ 30 ปี) 12 2   เรอัลบายาโดลิด
19 4FW ยูซุฟ อันนุศ็อยรี 1 มิถุนายน ค.ศ. 1997 (อายุ 25 ปี) 50 15   เซบิยา
20 2DF อัชร็อฟ ดารี 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1999 (อายุ 23 ปี) 4 0   แบร็สต์
21 4FW วะลีด ชัดดีเราะฮ์ 22 มกราคม ค.ศ. 1998 (อายุ 24 ปี) 2 0   บารี
22 1GK อะห์มัด ริฎอ อัตตักนาวุตี 5 เมษายน ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) 3 0   วิดาด
23 3MF บิลาล อัลค็อนนูศ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 2004 (อายุ 18 ปี) 0 0   แค็งก์
24 2DF บัดร์ บานูน 30 กันยายน ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) 3 0   กาตาร์
25 2DF ยะห์ยา อะฏียะฮ์ อัลลอฮ์ 2 มีนาคม ค.ศ. 1995 (อายุ 27 ปี) 2 0   วิดาด
26 3MF ยะห์ยา ญับรอน 18 มิถุนายน ค.ศ. 1991 (อายุ 31 ปี) 5 0   วิดาด

สถิติการแข่งขัน แก้

ฟุตบอลโลก แก้

สถิติในฟุตบอลโลก สถิติในฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
  1930 ไม่ได้เข้าร่วม ไม่ได้เข้าร่วม
  1934
  1938
  1950
  1954
  1958
  1962 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 7 2 2 3 7 8
  1966 ถอนตัว ถอนตัว
  1970 รอบแบ่งกลุ่ม 14th 3 0 1 2 2 6 10 4 4 2 11 7
  1974 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 10 4 3 3 12 13
  1978 2 0 2 0 2 2
  1982 8 3 2 3 5 6
  1986 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 11th 4 1 2 1 3 2 8 5 2 1 12 1
  1990 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 6 1 3 2 4 5
  1994 รอบแบ่งกลุ่ม 23rd 3 0 0 3 2 5 10 7 2 1 19 4
  1998 รอบแบ่งกลุ่ม 18th 3 1 1 1 5 5 6 5 1 0 14 2
    2002 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 10 6 3 1 11 3
  2006 10 5 5 0 17 7
  2010 10 3 3 4 14 13
  2014 6 2 3 1 9 8
  2018 รอบแบ่งกลุ่ม 27th 3 0 1 2 2 4 8 4 3 1 13 1
  2022 อันดับที่ 4 4th 7 3 2 2 6 5 8 7 1 0 25 3
ทั้งหมด อันดับที่ 4 6/22 23 5 7 11 20 27 119 58 39 22 175 83

แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ แก้

  • ชนะเลิศ: 1976
  • รองชนะเลิศ: 2004
  • อันดับที่สาม: 1980
  • อันดับที่สี่: 1986, 1988

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "Morocco – Record International Players". rsssf.com.
  2. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 4 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2024.
  3. "Morocco 1-0 Portugal: World Cup 2022 quarter-final – live reaction". the Guardian (ภาษาอังกฤษ). 2022-12-10. สืบค้นเมื่อ 2022-12-10.
  4. Byrne, Cal (2022-12-10). "Morocco first African to reach World Cup semi-finals". Al Jazeera (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-12-10.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้