ฟุตซอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน

อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ (อังกฤษ: ASEAN Futsal Championship) หรือ เอเอฟเอฟฟุตซอลแชมเปียนชิพ (อังกฤษ: AFF Futsal Championship) เป็นการแข่งขันฟุตซอลระหว่างประเทศในแถบอาเซียน ในการควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ซึ่งมีการจัดการแข่งขันครั้งแรกขึ้นเมื่อปี 2001[1] จัดขึ้นทุก 2 ปี กระทั่งปี 2005 จึงเปลี่ยนเป็นจัดขึ้นทุกปี

ฟุตซอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน
ก่อตั้งพ.ศ. 2544
ภูมิภาคอาเชียน (เอเอฟเอฟ)
จำนวนทีม10 (รอบสุดท้าย)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติไทย ไทย ชนะครั้งที่ 16
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติไทย ไทย
(ชนะ 16 ครั้ง)
อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022

ผลการแข่งขัน แก้

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ ชิงอันดับ 3
ชนะเลิศ ผล รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผล อันดับ 4
2001
รายละเอียด
 
กัวลาลัมเปอร์
 
ไทย
12 - 1  
สิงคโปร์
 
มาเลเซีย
ไม่มีการแข่งขัน  
บรูไน
2003
รายละเอียด
 
กวนตัน
 
ไทย
4 - 0  
มาเลเซีย
 
อินโดนีเซีย
5 - 3  
กัมพูชา
2005
รายละเอียด
 
กรุงเทพ
 
ไทย
5 - 1  
มาเลเซีย
 
อินโดนีเซีย
7 - 1  
บรูไน
2006
รายละเอียด
 
กรุงเทพ
 
ไทย
10 - 3  
อินโดนีเซีย
 
พม่า
10 - 2  
กัมพูชา
2007
รายละเอียด
 
กรุงเทพ
 
ไทย
7 - 1  
ออสเตรเลีย
 
มาเลเซีย
6 - 6
(3 - 1)
 
เวียดนาม
2008
รายละเอียด
 
กรุงเทพ
 
ไทย
5 - 1  
อินโดนีเซีย
 
มาเลเซีย
8 - 2  
บรูไน
2009
รายละเอียด
 
โฮจิมินห์
 
ไทย
4 - 1  
เวียดนาม
 
อินโดนีเซีย
4 - 3  
ฟิลิปปินส์
2010
รายละเอียด
 
โฮจิมินห์
 
อินโดนีเซีย
5 - 0  
มาเลเซีย
 
เวียดนาม
ไม่มีการแข่งขัน  
ฟิลิปปินส์
2011  
จาการ์ตา
ยกเลิกการแข่งขัน ยกเลิกการแข่งขัน
2012
รายละเอียด
 
กรุงเทพ
 
ไทย
9 - 4  
เวียดนาม
 
อินโดนีเซีย
4 - 2  
มาเลเซีย
2013
รายละเอียด
 
กรุงเทพ
 
ไทย
2 - 1  
ออสเตรเลีย
 
เวียดนาม
7 - 3  
อินโดนีเซีย
2014
รายละเอียด
 
ชาห์อาลัม
 
ไทย
6 - 0  
ออสเตรเลีย
 
เวียดนาม
2 - 2
(5 - 3)
 
อินโดนีเซีย
2015
รายละเอียด
 
กรุงเทพ
 
ไทย
5 - 3  
ออสเตรเลีย
 
มาเลเซีย
6 - 5  
เวียดนาม
2016
รายละเอียด
 
กรุงเทพ
 
ไทย
8 - 1  
พม่า
 
มาเลเซีย
8 - 1  
ติมอร์เลสเต
2017
รายละเอียด
 
โฮจิมินห์
 
ไทย
4 - 3  
มาเลเซีย
 
พม่า
2 - 2
(4 - 3)
 
เวียดนาม
2018
รายละเอียด
 
ยกยาการ์ตา
 
ไทย
4 - 2  
มาเลเซีย
 
อินโดนีเซีย
3 - 1  
เวียดนาม
2019
รายละเอียด
 
โฮจิมินห์
 
ไทย
5 - 0  
อินโดนีเซีย
 
เวียดนาม
7 - 3  
พม่า
2020
รายละเอียด
 
ประเทศไทย
ยกเลิกเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19
2021
รายละเอียด
 
ประเทศไทย
ยกเลิกหลังไทยถูกแบนจากการจัดการแข่งขันโดย วาดา[2]
2022
รายละเอียด
 
กรุงเทพมหานคร
 
ไทย
2–2
(5–3 ลูกโทษ)
 
อินโดนีเซีย
 
เวียดนาม
1–1
(4–1 ลูกโทษ)
 
พม่า

สรุปผลการแข่งขัน แก้

อันดับ ทีมชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับ 3 อันดับ 4
1   ไทย 16 ครั้ง ( 2001, 2003, 2005*, 2006*, 2007*, 2008*, 2009, 2012, 2013, 2014, 2015*, 2016, 2017, 2018, 2019, 2022)
2   อินโดนีเซีย 1 ครั้ง (2010) 3 ครั้ง (2006, 2008, 2022) 4 ครั้ง (2003, 2005, 2009, 2012, 2018) 2 ครั้ง (2013, 2014)
3   ออสเตรเลีย 4 ครั้ง (2007,2013, 2014, 2015)
4   มาเลเซีย 4 ครั้ง (2003*, 2005, 2010 , 2017, 2018) 5 ครั้ง (2001*, 2007, 2008 ,2015 , 2016) 1 ครั้ง (2012)
5   เวียดนาม 2 ครั้ง (2009*, 2012) 4 ครั้ง (2010*, 2013, 2014, 2022) 4 ครั้ง (2007, 2015, 2017, 2018)
6   พม่า 1 ครั้ง (2016) 2 ครั้ง (2006, 2017) 1 ครั้ง (2022)
7   สิงคโปร์ 1 ครั้ง (2001)
8   บรูไน 3 ครั้ง (2001, 2005, 2008)
9   กัมพูชา 2 ครั้ง (2003, 2006)
10   ฟิลิปปินส์ 2 ครั้ง (2009, 2010)
11   ติมอร์-เลสเต 1 (2016)

* = เจ้าภาพ

สถิติ แก้

ความสำเร็จของทีม แก้

สัญลักษณ์

  • 1st – ชนะเลิศ
  • 2nd – รองชนะเลิศ
  • 3rd – อันดับ 3
  • 4th – อันดับ 4
  • DNP = ไม่เข้าร่วม
  • GS = รอบแบ่งกลุ่ม
  • N/A = ไม่ใช่สมาชิก AFF
  •      – เจ้าภาพ
ทีมชาติ  
2001
 
2003
 
2005
 
2006
 
2007
 
2008
 
2009
 
2010
 
2011
 
2012
 
2013
 
2014
 
2015
 
2016
 
2017
 
2018
 
2019
 
2022
  ออสเตรเลีย N/A DNP 2nd DNP DNP DNP ยก

เลิก

การ

แข่ง

ขัน

DNP 2nd 2nd 2nd DNP DNP DNP GS GS
  บรูไน 4th GS 4th GS GS 4th DNP DNP GS GS GS GS GS GS GS DNP GS
  กัมพูชา DNP 4th DNP 4th DNP DNP DNP DNP GS DNP DNP DNP DNP DNP GS GS GS
  อินโดนีเซีย DNP 3rd 3rd 2nd GS 2nd 3rd 1st 3rd 4th 4th DNP GS GS 3rd 2nd 2nd
  ลาว DNP DNP DNP DNP DNP GS DNP DNP GS GS GS GS GS GS DNP DNP DNP
  มาเลเซีย 3rd 2nd 2nd GS 3rd 3rd GS 2nd 4th GS GS 3rd 3rd 2nd 2nd GS GS
  พม่า DNP DNP DNP 3rd GS GS GS GS GS GS GS GS 2nd 3rd GS 4th 4th
  ฟิลิปปินส์ GS GS GS DNP GS GS 4th 4th GS GS GS GS DNP GS DNP DNP DNP
  สิงคโปร์ 2nd DNP DNP DNP DNP DNP DNP DNP DNP DNP DNP GS DNP DNP DNP DNP DNP
  ไทย 1st 1st 1st 1st 1st 1st 1st DNP 1st 1st 1st 1st 1st 1st 1st 1st 1st
  ติมอร์-เลสเต N/A DNP DNP DNP DNP GS DNP GS GS GS GS 4th GS GS GS GS
  เวียดนาม DNP DNP GS GS 4th GS 2nd 3rd 2nd 3rd 3rd 4th DNP 4th 4th 3rd 3rd

ตารางตลอดเวลา แก้

จนถึงสิ้นรอบรองชนะเลิศในปี พ.ศ. 2560

ทีมชาติ จำนวนครั้ง Pld W D L GF GA Dif Pts
  ไทย 15 79 77 0 2 744 117 +618 234
  อินโดนีเซีย 14 69 43 3 23 370 197 +173 132
  มาเลเซีย 16 69 35 4 30 281 237 +44 109
  เวียดนาม 13 65 33 6 26 331 201 +130 105
  ออสเตรเลีย 5 26 19 0 7 142 63 +79 57
  พม่า 13 47 18 1 26 229 212 +17 55
  บรูไน 13 43 8 1 34 104 346 –242 25
  ฟิลิปปินส์ 12 41 6 1 34 90 317 –227 19
  ติมอร์-เลสเต 9 26 4 2 20 54 241 –187 14
  กัมพูชา 5 21 4 1 16 66 167 –101 13
  ลาว 6 14 3 1 10 37 123 –86 10
  สิงคโปร์ 2 8 2 0 6 21 35 –13 6

แหล่ง:[3]

อ้างอิง แก้

  1. De Bock, Christofhe (28 August 2009). "ASEAN Futsal Championship 2001". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2010.
  2. "AFF FUTSAL CHAMPIONSHIP 2021 OFFICIALLY CANCELLED". ASEAN FOOTBALL Twitter.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  3. "FutsalPlanet". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-16. สืบค้นเมื่อ 2016-02-15.