พรรคคอมมิวนิสต์ญี่ปุ่น

พรรคการเมืองญี่ปุ่น

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศญี่ปุ่น (JCP, ญี่ปุ่น: 日本共産党, Nihon Kyōsan-tō) เป็นพรรคการเมืองคอมมิวนิสต์ในญี่ปุ่น มีสมาชิกประมาณ 270,000 คน จากสาขา 18,000 แห่ง พรรคนี้เป็นหนึ่งในพรรคคอมมิวนิสต์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก

พรรคคอมมิวนิสต์ญี่ปุ่น
日本共産党
ชื่อย่อJCP
ประธานคาซูโอะ ชิอิ
เลขาธิการอากิระ โคอิเกะ[1]
Representatives leaderเคจิ โคกูตะ
Councillors leaderโยชิกิ ยามาาชิตะ
ก่อตั้ง15 July 1922; 101 ปีก่อน (15 July 1922)[2]
ที่ทำการ4-26-7 เซ็นดางายะ ชิบูยะ, 151-8586 ประเทศญี่ปุ่น[3]
หนังสือพิมพ์ชิมบุงอากาฮาตะ
ฝ่ายเยาวชนDemocratic Youth League of Japan
จำนวนสมาชิก  (ปี 2023)270,000[4]
อุดมการณ์
จุดยืนฝ่ายซ้าย[12] ถึงซ้ายจัด[17]
กลุ่มระดับสากลIMCWP
สี  แดง[18]
สภาผู้แทนราษฎร
10 / 465
ราชมนตรีสภา
13 / 245
สมาชิกสภาจังหวัด
139 / 2,614
สมาชิกสภาเทศบาล
2,473 / 30,101
เว็บไซต์
www.jcp.or.jp/english แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
สัญลักษณ์การเลือกตั้ง
ธงประจำพรรค
การเมืองญี่ปุ่น
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง

พรรคได้สนับสนุนการจัดตั้งสังคมประชาธิปไตยบนพื้นฐานของสังคมนิยมวิทยาศาสตร์และสันติ โดยเชื่อว่า วัตถุประสงค์นี้จะสามารถบรรลุได้โดยการทำงานภายใต้โครงสร้างการเลือกตั้ง ในขณะที่ได้ดำเนินการต่อสู้ภายนอกรัฐสภาเพื่อต่อต้าน"ลัทธิจักรวรรดินิยมและพันธมิตรผู้ใต้บังคับบัญชา ทุนนิยมผูกขาด" ด้วยเหตุนี้ พรรค JCP จึงไม่สนับสนุนการปฏิวัติที่รุนแรง และเสนอ"การปฏิวัติในระบอบประชาธิปไตย"แทน เพื่อบรรลุ"การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและทางเศรษฐกิจในระบอบประชาธิปไตย" เนื่องจากเป็นพรรคที่ต่อต้านการทหารอย่างแข็งขัน พรรค JCP ได้สนับสนุนมาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่นอย่างเหนียวแน่น และมีเป้าหมายที่จะทำการยุบกองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น พรรคยังคัดค้านการเป็นพันธมิตรด้านความมั่นคงของญี่ปุ่นกับสหรัฐฯ โดยมองว่าเป็นหุ้นส่วนที่ไม่เท่าเทียมและเป็นการละเมิดต่ออธิปไตยชาติของญี่ปุ่น

ภายหลังจากเกิดความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต พรรค JCP เริ่มตีตัวออกห่างจากกลุ่มตะวันออก โดยเฉพาะสหภาพโซเวียต ดังนั้นพรรคจึงไม่ประสบวิกฤตภายในอันเป็นผลมาจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน ค.ศ. 1991 พวกเขากลับยินดีต่อการล่มสลายของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต ซึ่งได้อธิบายว่า "เป็นศูนย์รวมของความชั่วร้ายทางประวัติศาสตร์ของลัทธิคลั่งชาติมหาอำนาจและลัทธิเจ้าครองโลก"

อ้างอิง แก้

  1. "JCP elects new leadership" (12 April 2016). "The Japanese Communist Party 5th Central Committee Plenum on 11 April relieved Yamashita Yoshiki (House of Councilors member) of his duty as secretariat head for health reasons and elected Koike Akira (House of Councilors member and currently JCP vice chair) to the position". Retrieved 7 June 2016.
  2. Uno 1991, p. 1030.
  3. 3.0 3.1 "Japanese Communist Party". bloomberg.com. Bloomberg L.P. สืบค้นเมื่อ 25 January 2022. Japanese Communist Party (JCP) operates as a left-wing political party in Japan. The Company conducts membership organization established to promote the interests of a national, State, or local political party or candidate.
  4. [1] (2020). Retrieved 29 January 2021.
  5. Taguchi, Fukuji. 日本大百科全書(ニッポニカ)の解説 [The Nihon Dai Hyakka Zensho: Nipponica 's explanation]. kotobank.jp (ภาษาญี่ปุ่น). The Asahi Shimbun Company. สืบค้นเมื่อ 28 October 2020.[ลิงก์เสีย]
  6. Berton 2000.
  7. "How the Japanese Communist Party Developed its Theory of Scientific Socialism". Japanese Communist Party. สืบค้นเมื่อ 12 June 2019.
  8. 8.0 8.1 "Japanese Communist Party | political party, Japan". Encyclopædia Britannica Online. สืบค้นเมื่อ 11 October 2019.
  9. ""선제공격 능력 갖추자" 日정부 주장에…"시대착오적" 비판". Edaily (ภาษาเกาหลี). 13 November 2021. สืบค้นเมื่อ 3 December 2021. ... 개헌에 반대해 온 진보 성향의 일본공산당은 “적 기지에 대한 공격력을 갖추더라도 상대국의 지하나 이동발사대 등 미사일 위치를 모두 파악하고 파괴하는 것은 불가능하다”며 ... [... The progressive position Japanese Communist Party, which has opposed the constitutional amendment, said, "Even if it has offensive power against enemy bases, it is impossible to identify and destroy all missile locations such as underground or mobile launchers of the other country" ...]
  10. The JCP is on an independent path different from other communist parties, and has traditionally been regarded as a (socially) progressive party in the context of Japanese politics:
  11. "Japan's persistent pacifism (in English)". East Asia Forum. 24 October 2013. สืบค้นเมื่อ 4 January 2014.
  12. [3][8]
  13. Robert J. Pekkanen, Steven R. Reed, Ethan Scheiner, Daniel M. Smith, บ.ก. (2018). Japan Decides 2017: The Japanese General Election. Springer. p. 93. ISBN 9783319764757.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: editors list (ลิงก์)
  14. Ronald J Hrebenar, บ.ก. (2019). Japan's New Party System. Routledge. ISBN 9780429721083. This trend erodes the traditional support of the “progressive” parties, especially those—as with the JCP —perceived to be on the extreme Left.
  15. Jou, Willy; Endo, Masahisa, บ.ก. (2016). Generational Gap in Japanese Politics: A Longitudinal Study of Political Attitudes and Behaviour. Palgrave Macmillan. p. 16. ISBN 9781137503428.
  16. "Election campaign, the Japanese way". The Straits Times. 13 June 2017. สืบค้นเมื่อ 16 October 2017. Both the LDP and Kibo no To are in favour of constitutional revision, unlike the new left-leaning Constitutional Democratic Party of Japan and the far-left Japanese Communist Party.
  17. [13][14][15][16]
  18. 日本に定着するか、政党のカラー [Will the colors of political parties settle in Japan?] (ภาษาญี่ปุ่น). Nikkei, Inc. 21 October 2017. สืบค้นเมื่อ 29 May 2020.

บรรณานุกรม แก้

หนังสือ แก้

บทความวารสาร แก้

อ่านเพิ่ม แก้

  • Peter Berton and Sam Atherton, "The Japanese Communist Party: Permanent Opposition, but Moral Compass." New York: Routledge, 2018.
  • T.E. Durkee, The Communist Party of Japan, 1919–1932. PhD dissertation. Stanford University, 1953.
  • G.A. Hoston, Marxism and the Crisis of Development in Prewar Japan. Princeton, NJ: Princeton University Press, 1986.
  • Hong M. Kim, Deradicalization of the Japanese Communist Party Under Kenji Miyamoto. Cambridge University Press, 1976.
  • Stephen S. Large, The Romance of Revolution in Japanese Anarchism and Communism during the Taishō Period. Cambridge University Press, 1977.
  • Robert A. Scalapino, The Japanese Communist Movement: 1920–1966. London: Cambridge University Press. 1967.
  • R. Swearingen and P. Langer, Red Flag in Japan: International Communism in Action, 1919–1951. Cambridge, MA: Harvard University Press, 1952.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้