ประสาทชีววิทยา (อังกฤษ: Neurobiology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ชนิดต่างๆ ในระบบประสาท และการจัดระเบียบของเซลล์เหล่านี้ให้สามารถทำงานเชื่อมต่อกันเป็นวงจรเพื่อใช้ประมวลผลข้อมูลและการแสดงออกทางพฤติกรรม ประสาทชีววิทยาเป็นแขนงวิชาย่อยของชีววิทยาและประสาทวิทยาศาสตร์ ประสาทชีววิทยาแตกต่างจากประสาทวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นสาขาวิชาที่กว้างและเกี่ยวข้องกับการศึกษาระบบประสาทในหลายรูปแบบ นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาประสาทชีววิทยาเรียกว่านักประสาทชีววิทยา (neurobiologist)

เซลล์ประสาทและเซลล์เกลีย แก้

การทำงานของระบบประสาท แก้

การเกิดแอกชันโพเทนเชียล แก้

ภายใน axon เมื่อได้รับ Na เกิดมีประจุบวก เพิ่มขึ้น ส่วนภายนอกเนื่องจากเสีย Na ไปทำให้มีประจุลบ เรียกว่าภาวะลดความมีขั้วของaxon นั่นคือ depolarization ซึ่งวัดค่าความต่างศักย์ได้ +60 mV. การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้านี้ ทำให้เกิด Action potential

กระบวนการสร้างไซแนปส์และโครงสร้างของไซแนปส์ แก้

สารสื่อประสาท ทรานสปอตเตอร์ ตัวรับ และ กลไกการส่งสัญญาณ แก้

สารสื่อประสาทสร้างจากภายในเซลล์ โดย RER (Rough Endoplamic Reticulum)จากนั้นก็ถูกส่งไปยังกอลจิบอดี (หรือกอลจิคอมเพล็กซ์) เพื่อทำการลำเลียงสู่ vesicle เรียกว่า Synaptic vesicle'

ไซแนปติก พลาสติซิตี้ (synaptic plasticity) แก้

ระบบประสาทสัมผัส แก้

การเจริญพัฒนาของระบบประสาท แก้

อ้างอิง แก้