บาลงดอร์

รางวัลสำหรับนักฟุตบอลอาชีพชาย

บาลงดอร์ (เสียงอ่านภาษาฝรั่งเศส: [balɔ̃ dɔʁ] ( ฟังเสียง); แปลว่าลูกบอลทองคำ; อังกฤษ: Ballon d'Or) เป็นรางวัลที่มอบให้แก่นักฟุตบอลที่มีผลงานยอดเยี่ยมที่สุดในรอบปี มอบโดยนิตยสารข่าวฝรั่งเศส ฟร็องส์ฟุตโบล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 ระหว่างปี ค.ศ. 2010 ถึง 2015 รางวัลดังกล่าวได้ถูกรวมเข้ากับนักฟุตบอลยอดเยี่ยมของโลกแห่งปี (ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1991) เป็นการชั่วคราว ตามข้อตกลงกับฟีฟ่า และเป็นที่รู้จักในชื่อรางวัลฟีฟ่าบาลงดอร์ ความร่วมมือดังกล่าวสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 2016 และรางวัลดังกล่าวเปลี่ยนกลับไปเป็นบาลงดอร์ ในขณะที่ฟีฟ่าก็เปลี่ยนกลับไปเป็นรางวัลนักฟุตบอลชายยอดเยี่ยมของฟีฟ่าแยกต่างหาก ผู้ได้รับรางวัลฟีฟ่าบาลงดอร์ ถือเป็นผู้ชนะที่ได้รับรางวัลจากทั้งสององค์กรร่วมกัน โดยทั่วไปแล้วบาลงดอร์ถือเป็นรางวัลบุคคลอันทรงเกียรติและทรงคุณค่าที่สุดของฟุตบอล[2] อย่างไรก็ตาม นักวิจารณ์ได้กล่าวถึงรางวัลนี้ว่าเป็น "การประกวดความนิยม" โดยวิพากษ์วิจารณ์กระบวนการลงคะแนนเสียง และการให้รางวัลเฉพาะตัวบุคคลแยกจากระบบในกีฬาประเภททีม[3][4][5][6][7][8]

บาลงดอร์
ถ้วยรางวัลบัลลงดอร์
วันที่1956; 68 ปีที่แล้ว (1956)
ประเทศฝรั่งเศส
จัดโดยฟร็องส์ฟุตโบล
รางวัลแรก1956
ผู้ดำรงตำแหน่งปัจจุบันอาร์เจนตินา ลิโอเนล เมสซิ
(ครั้งที่ 8)
รางวัลมากที่สุดอาร์เจนตินา ลิโอเนล เมสซิ
(8 ครั้ง)
เสนอชื่อมากที่สุดโปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด
(18 ครั้ง)[1]
เว็บไซต์francefootball.fr
← 2022 · บาลงดอร์ · 2023 →

ผู้ชนะ

 
ลิโอเนล เมสซี คว้าบาลงดอร์มากที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยทำได้ 8 ครั้ง เขายังเป็นเจ้าของสถิติการชนะติดต่อกันมากที่สุด โดยชนะสี่ครั้งระหว่างปี ค.ศ. 2009 ถึง 2012
 
คริสเตียโน โรนัลโด ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงบัลลงดอร์เป็นประวัติการณ์ถึง 18 ครั้ง และเป็นผู้ชนะ 5 ครั้ง
 
จอร์จ เวอาห์ เป็นผู้เล่นคนแรกที่ไม่ใช่ชาวยุโรปและผู้เล่นทีมชาติแอฟริกันคนแรกที่ได้รับรางวัล
 
เลฟ ยาชิน เป็นผู้รักษาประตูคนเดียวที่ได้รางวัล
 
ฟรันทซ์ เบ็คเคินเบาเออร์ เป็นกองหลังคนเดียวที่ได้รางวัล 2 ครั้ง

หมายเหตุ: จนถึงปี ค.ศ. 2021 รางวัลบาลงดอร์จะมอบให้โดยพิจารณาจากผลงานของผู้เล่นในระหว่างปีปฏิทิน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2022 คณะกรรมการได้รับคำสั่งให้คำนึงถึงฤดูกาลที่ก่อนหน้า[9]

คำอธิบาย
      หมายถึง ผู้เล่นที่ชนะบาลงดอร์และได้รับรางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมของโลกแห่งปี หรือ
นักฟุตบอลชายยอดเยี่ยมของฟีฟ่า ในปีเดียวกัน (ใช้ได้ในปี ค.ศ. 1991–2009 และตั้งแต่ปี ค.ศ. 2016)
ปี ค.ศ. อันดับ ผู้เล่น ทีม คะแนน
บาลงดอร์ (ค.ศ. 2016–ปัจจุบัน)
2016 1   คริสเตียโน โรนัลโด     เรอัลมาดริด 745
2   ลิโอเนล เมสซิ   บาร์เซโลนา 316
3   อ็องตวน กรีแยซมาน   อัตเลติโกเดมาดริด 198
2017 1   คริสเตียโน โรนัลโด     เรอัลมาดริด 946
2   ลิโอเนล เมสซิ   บาร์เซโลนา 670
3   เนย์มาร์[note 1]   ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 361
2018 1   ลูกา มอดริช     เรอัลมาดริด 753
2   คริสเตียโน โรนัลโด[note 2]   ลยูเวนตุส 476
3   อ็องตวน กรีแยซมาน   อัตเลติโกเดมาดริด 414
2019 1   ลิโอเนล เมสซิ     บาร์เซโลนา 686
2   เฟอร์จิล ฟัน ไดก์   ลิเวอร์พูล 679
3   คริสเตียโน โรนัลโด   ยูเวนตุส 476
2020 ไม่มีการมอบรางวัลเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19[10]
2021 1   ลิโอเนล เมสซิ[note 3]   ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 613
2   รอแบร์ต แลวันดอฟสกี   ไบเอิร์นมิวนิก 580
3   ฌอร์ฌิญญู   สโมสรฟุตบอลเชลซี 460
2022 1   การีม แบนเซมา   เรอัลมาดริด 549
2   ซาดีโย มาเน   ลิเวอร์พูล 193
3   เกฟิน เดอ เบรยเนอ   แมนเชสเตอร์ซิตี 175
ปี ค.ศ. นักเตะ ทีม
2023   ลิโอเนล เมสซี   อินเตอร์ไมแอมี
2022   การีม แบนเซมา   เรอัลมาดริด
2021   ลิโอเนล เมสซี   ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
2020 ยกเลิกเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19 พ.ศ. 2563[10]
2019   ลิโอเนล เมสซี   บาร์เซโลนา
2018   ลูคา มอดริช   เรอัลมาดริด
2017   คริสเตียโน โรนัลโด   เรอัลมาดริด
2016   คริสเตียโน โรนัลโด   เรอัลมาดริด
2009   ลิโอเนล เมสซี   บาร์เซโลนา
2008   คริสเตียโน โรนัลโด   แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
2007   กาก้า   มิลาน
2006   ฟาบีโอ กันนาวาโร   เรอัลมาดริด
2005   โรนัลดิญโญ่   บาร์เซโลนา
2004   อันดรีย์ เชฟเชนโค   มิลาน
2003   ปาเวล เนดเวต   ยูเวนตุส
2002   โรนัลโด้   เรอัลมาดริด
2001   ไมเคิล โอเว่น   ลิเวอร์พูล
2000   ลูอิช ฟีกู   เรอัลมาดริด
1999   ริวัลโด   บาร์เซโลนา
1998   ซีเนดีน ซีดาน   ยูเวนตุส
1997   โรนัลโด   อินเตอร์
1996   มัทธิอัส ซามเมอร์   ดอร์ทมุนท์
1995   จอร์จ เวอาห์   มิลาน
1994   ฮริสโต้ สตอยช์คอฟ   บาร์เซโลนา
1993   โรแบร์โต บัจโจ   ยูเวนตุส
1992   มาร์โก ฟัน บัสเติน   มิลาน
1991   ฌ็อง-ปีแยร์ ปาแป็ง   มาร์แซย์
1990   โลทาร์ มัทเทอุส   อินเตอร์
1989   มาร์โก ฟัน บัสเติน   มิลาน
1988   มาร์โก ฟัน บัสเติน   มิลาน
1987   รืด คึลลิต   มิลาน
1986     อิกอร์ เบลานอฟ   ดีนาโม เคียฟ
1985   มีแชล ปลาตีนี   ยูเวนตุส
1984   มีแชล ปลาตีนี   ยูเวนตุส
1983   มีแชล ปลาตีนี   ยูเวนตุส
1982   เปาโล รอสซี่   ยูเวนตุส
1981   คาร์ล-ไฮนซ์ รุมเมนิกเก้   บาเยิร์น
1980   คาร์ล-ไฮนซ์ รุมเมนิกเก้   บาเยิร์น
1979   เควิน คีแกน   ฮัมบวร์ค
1978   เควิน คีแกน   ฮัมบวร์ค
1977   อัลลัน ซิโมนเซ่น   กลัทบัค
1976   ฟรันซ์ เบคเคนเบาเออร์   บาเยิร์น
1975     โอเล็ก บลอคคิ่น   ดีนาโม เคียฟ
1974   โยฮัน ครัฟฟ์   บาร์เซโลนา
1973   โยฮัน ครัฟฟ์   บาร์เซโลนา
1972   ฟรันซ์ เบคเคนเบาเออร์   บาเยิร์น
1971   โยฮัน ครัฟฟ์   อายักซ์
1970   แกร์ด มึลเลอร์   บาเยิร์น
1969   จานนี่ ริเวร่า   มิลาน
1968   จอร์จ เบสต์   แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1967   ฟลอริยัน อัลเบิร์ต   เฟเรนซ์วารอส
1966   บ๊อบบี้ ชาร์ลตัน   แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1965   เอวแซบียู   ไบฟีกา
1964   เดนิส ลอว์   แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1963     เลฟ ยาชิน   ดีนาโม มอสโก
1962   โยเซฟ มาโซปุสต์   ดุคล่า ปราก
1961     โอมาร์ ซีโบรี   ยูเวนตุส
1960   ลุยส์ ซัวเรซ มิรามอนเตส   บาร์เซโลนา
1959       อัลเฟรโด ดี สเตฟาโน   เรอัลมาดริด
1958   แรมง กอปา   เรอัลมาดริด
1957       อัลเฟรโด ดี สเตฟาโน   เรอัลมาดริด
1956   สเตนรี่ แมทธิว   แบล็กพูล

แยกตามผู้เล่น

 
คริสเตียโน โรนัลโด และ ลิโอเนล เมสซิ คว้ารางวัลบาลงดอร์ 10 สมัยติดต่อกันระหว่างพวกเขาระหว่างปี 2008 ถึง 2017
 
มีแชล ปลาตีนี ได้รับรางวัลสามปีติดต่อกัน (1983–85)
 
โรนัลโด นาซารีอู เป็นนักเตะอายุน้อยที่สุดที่ได้บาลงดอร์
 
โยฮัน ไกรฟฟ์ (ซ้าย) และ มาร์โก ฟัน บัสเติน จากเนเธอร์แลนด์ทั้งคู่ ชนะคนละ 3 ครั้ง
ผู้เล่น ชนะเลิศ ที่สอง ที่สาม
  ลิโอเนล เมสซิ[note 4] 8 (2009, 2010, 2011, 2012, 2015, 2019, 2021, 2023) 5 (2008, 2013, 2014, 2016, 2017) 1 (2007)
  คริสเตียโน โรนัลโด[note 5] 5 (2008, 2013, 2014, 2016, 2017) 6 (2007, 2009, 2011, 2012, 2015, 2018) 1 (2019)
  มีแชล ปลาตีนี 3 (1983, 1984, 1985) 2 (1977, 1980)
  โยฮัน ไกรฟฟ์ 3 (1971, 1973, 1974) 1 (1975)
  มาร์โก ฟัน บัสเติน 3 (1988, 1989, 1992)
  ฟรันทซ์ เบ็คเคินเบาเออร์ 2 (1972, 1976) 2 (1974, 1975) 1 (1966)
  โรนัลโด 2 (1997, 2002) 1 (1996) 1 (1998)
  อัลเฟรโด ดิ เอสเตฟาโน 2 (1957, 1959) 1 (1956)
  เควิน คีแกน 2 (1978, 1979) 1 (1977)
  คาร์ล-ไฮนซ์ รุมเมนิกเก้ 2 (1980, 1981) 1 (1979)
  ลุยส์ ซัวเรซ มิรามอนเตส 1 (1960) 2 (1961, 1964) 1 (1965)
  เอวแซบียู 1 (1965) 2 (1962, 1966)
  บ็อบบี ชาร์ลตัน 1 (1966) 2 (1967, 1968)
  แรมง กอปา 1 (1958) 1 (1959) 2 (1956, 1957)
  แกร์ท มึลเลอร์ 1 (1970) 1 (1972) 2 (1969, 1973)
  ซีเนดีน ซีดาน 1 (1998) 1 (2000) 1 (1997)
  จานนี่ ริเวร่า 1 (1969) 1 (1963)
  รืด คึลลิต 1 (1987) 1 (1988)
  โลทาร์ มัทเทอุส 1 (1990) 1 (1991)
  โรแบร์โต บัจโจ 1 (1993) 1 (1994)
  ฮริสโต้ สตอยช์คอฟ 1 (1994) 1 (1992)
  อันดรีย์ แชวแชนกอ 1 (2004) 2 (1999, 2000)
  จอร์จ เบสต์ 1 (1968) 1 (1971)
  อัลลัน ซิโมนเซ่น 1 (1977) 1 (1983)
  รอนัลดีนโย 1 (2005) 1 (2004)
  สเตนรี่ แมทธิว 1 (1956)
  โอมาร์ ซิโบริ 1 (1961)
  โยเซฟ มาโซปุสต์ 1 (1962)
    เลฟ ยาชิน 1 (1963)
  เดนิส ลอว์ 1 (1964)
  ฟลอริยัน อัลเบิร์ต 1 (1967)
    โอเล็ก บลอคคิ่น 1 (1975)
  เปาโล รอสซี่ 1 (1982)
    อิกอร์ เบลานอฟ 1 (1986)
  ฌ็อง-ปีแยร์ ปาแป็ง 1 (1991)
  จอร์จ เวอาห์ 1 (1995)
  มัทธิอัส ซามเมอร์ 1 (1996)
  รีวัลดู 1 (1999)
  ลูอิช ฟีกู 1 (2000)
  ไมเคิล โอเวน 1 (2001)
  ปาเวล เนดเวต 1 (2003)
  ฟาบีโอ กันนาวาโร 1 (2006)
  กาก้า 1 (2007)
  ลูกา มอดริช 1 (2018)
  การีม แบนเซมา 1 (2022)

แยกตามประเทศ

 
ผู้เล่นยูเครนสามคนได้รับรางวัลบาลงดอร์: อันดรีย์ แชวแชนกอ, โอเล็ก บลอคคิ่น, และ อิกอร์ เบลานอฟ
 
มาร์โก ฟัน บัสเติน (ซ้าย) และ รืด คึลลิต ซึ่งทั้งสองเป็นเพื่อนร่วมทีมเอซี มิลาน และเนเธอร์แลนด์ คว้าแชมป์ติดต่อกันหลายปีตั้งแต่ปี 1987 ถึง 1989
ประเทศ ผู้เล่น ชนะ
  อาร์เจนตินา 1 8
  เยอรมนี 5 7
  เนเธอร์แลนด์ 3 7
  โปรตุเกส 3 7
  ฝรั่งเศส 4 6
  อิตาลี 5 5
  บราซิล 4 5
  อังกฤษ 4 5
  ยูเครน 3 3
  สเปน 2 3
  เช็กเกีย 2 2
  รัสเซีย 1 1
  บัลแกเรีย 1 1
  โครเอเชีย 1 1
  เดนมาร์ก 1 1
  ฮังการี 1 1
  ไลบีเรีย 1 1
  ไอร์แลนด์เหนือ 1 1
  สกอตแลนด์ 1 1

แยกตามสโมสร

สโมสร จำนวนรางวัล จำนวนนักเตะ รายชื่อนักเตะ
  เรอัลมาดริด
10
8
      อัลเฟรโด ดี สเตฟาโน (1957, 1959)
  แรมง กอปา (1958)
  ลูอิช ฟีกู (2000)
  โรนัลโด (2002)
  ฟาบีโอ กันนาวาโร (2006)
  คริสเตียโน โรนัลโด (2016, 2017)
  ลูคา มอดริช (2018)

  การีม แบนเซมา (2022)

  บาร์เซโลนา
8
6
  ลุยส์ ซัวเรซ (1960)
  โยฮัน ครัฟฟ์ (1973, 1974)
  ฮริสโต้ สตอยช์คอฟ (1994)
  รีวัลดู (1999)
  รอนัลดีนโย (2005)
  เลียวเนล เมสซี (2009, 2019)
  ยูเวนตุส
8
6
    โอมาร์ ซีโบรี (1961)
  เปาโล รอสซี่ (1982)
  มีแชล ปลาตีนี (1983, 1984, 1985)
  โรแบร์โต บัจโจ (1993)
  ซีเนดีน ซีดาน (1998)
  พาเวล เนดเวด (2003)
  มิลาน
8
6
  จานนี่ ริเวร่า (1969)
  รืด คึลลิต (1987)
  มาร์โก ฟัน บัสเติน (1988, 1989, 1992)
  จอร์จ เวอาห์ (1995)
  อันดรีย์ เชฟเชนโค (2004)
  กาก้า (2007)
  บาเยิร์น
5
3
  เกิร์ด มุลเลอร์ (1970)
  ฟรันซ์ เบคเคนเบาเออร์ (1972, 1976)
  คาร์ล-ไฮนซ์ รุมเมนิกเก้ (1980, 1981)
  แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
4
4
  เดนิส ลอว์ (1964)
  บ๊อบบี้ ชาร์ลตั้น (1966)
  จอร์จ เบสต์ (1968)
  คริสเตียโน โรนัลโด (2008)
  ดีนาโม เคียฟ
2
2
  โอเล็ก บลอคคิ่น (1975)
  อิกอร์ เบลานอฟ (1986)
  อินเตอร์
2
2
  โลทาร์ มัทเทอุส (1990)
  โรนัลโด (1997)
  ฮัมบวร์ค
2
1
  เควิน คีแกน (1978, 1979)
  แบล็กพูล
1
1
  สแตนลี่ย์ แมทธิวส์ (1956)
  ดุคล่า ปราก
1
1
  โยเซฟ มาโซปุสต์ (1962)
  ดีนาโม มอสโก
1
1
  เลฟ ยาชิน (1963)
  ไบฟีกา
1
1
  เอวแซบียู (1965)
  เฟเรนซ์วารอส
1
1
  ฟลอริยัน อัลเบิร์ต (1967)
  อายักซ์
1
1
  โยฮัน ครัฟฟ์ (1971)
  กลัทบัค
1
1
  อัลลัน ซิโมนเซ่น (1977)
  มาร์แซย์
1
1
  ฌ็อง-ปีแยร์ ปาแป็ง (1991)
  ดอร์ทมุนท์
1
1
  มัทธิอัส ซามเมอร์ (1996)
  ลิเวอร์พูล
1
1
  ไมเคิล โอเวน (2001)
  ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
1
1
  เลียวเนล เมสซี (2021)
  อินเตอร์ไมแอมี
1
1
  เลียวเนล เมสซี (2023)

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. Neymar was signed by Paris Saint-Germain from บาร์เซโลนา midway through 2017.
  2. Cristiano Ronaldo was signed by Juventus from เรอัลมาดริด midway through 2018.
  3. Messi was signed by Paris Saint-Germain from บาร์เซโลนา midway through 2021.
  4. Messi won four FIFA Ballons d'Or (2010, 2011, 2012, 2015) and twice finished in second place (2013, 2014).[11][12]
  5. Cristiano Ronaldo won two FIFA Ballons d'Or (2013, 2014) and finished in second place three times (2011, 2012, 2015).[11][12]

อ้างอิง

  1. "Ballon d'Or: Players who have received the most nominations". 90min. 15 November 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 November 2021. สืบค้นเมื่อ 29 November 2021.
  2. "Ballon d'Or, FIFA The Best awards: what's the difference between them?". Diario AS (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2023-02-24. สืบค้นเมื่อ 2023-05-27. Created by France Football in 1956, the Ballon d’Or is generally regarded as soccer’s most prestigious award.
  3. Why the Ballon d'Or is a waste of time
  4. Why the Ballon d’Or has become a meaningless accolade
  5. Why the Ballon d’Or is stupid and quite possibly evil
  6. Weekly Why: FIFA's Ballon d'Or and the Absurdity of Glorifying Individual Awards
  7. Emmanuel Petit: Some players would take ‘stupid’ Ballon d’Or over trophies
  8. The Ballon d'Or Is Stupid, But Mohamed Salah Deserves To Win It Anyway
  9. Reidy, Paul (17 October 2022). "Ballon d'Or, FIFA The Best awards: what's the difference between them?". AS.com. สืบค้นเมื่อ 10 November 2022.
  10. 10.0 10.1 "THE BALLON D'OR® WILL NOT BE AWARDED IN 2020". L'Equipe. 20 July 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 July 2020. สืบค้นเมื่อ 20 July 2020. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Not2020" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  11. 11.0 11.1 "La liste complête des lauréats du Ballon d'or, de 1956 à nos jours". France Football. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 January 2016. สืบค้นเมื่อ 14 January 2016.
  12. 12.0 12.1 "FIFA Awards – World Player of the Year". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. 12 February 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 October 2018. สืบค้นเมื่อ 14 January 2016.