ตราแผ่นดินของแคนาดา

ตราแผ่นดินของแคนาดา (มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ตราอาร์มแห่งแคนาดา[1][2][3][4][5][6][7][8] หรือมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ตราแผ่นดินของแคนาดา ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร)[1][9][10] และ ใช้เป็นตราประจำพระประมุขสูงสุดแห่งแคนาดา ประกาศใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2411 โดยได้รับแรงบันดาลใจจากการออกแบบตราจากตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร พร้อมกับมีการปรับแก้ไขลักษณะบางอย่างของตราให้เหมาะสม

ตราแผ่นดินของแคนาดา
ตราอาร์มรุ่นต่าง ๆ
ตราอาร์มย่อแห่งแคนาดา
รายละเอียด
ผู้ใช้ตราพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร ในฐานะพระประมุขสูงสุดแห่งแคนาดา
เริ่มใช้พ.ศ. 2411 (ประกาศใช้ครั้งแรก)
21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2464 (ประกาศใช้แบบตราปัจจุบัน)
เครื่องยอดสิงห์ยืนหันหน้าสวมมงกุฎอิมพีเรียลสเตทบนหัวและยืนบนแพรประดับสีแดง-ขาว เหนือชุดเกราะนักรบส่วนศีรษะ เหนือมงกุฎแห่งแคนาดา.
แพรประดับช่อเมเปิลสีแดง-ขาวและเออร์มิน
โล่ช่องที่ 1 ช่องมุมบนซ้าย รูปสิงโตอังกฤษโบราณสีเหลือง 3 ตัวบนพื้นสีแดง แทนอังกฤษ
ช่องที่ 2 ช่องมุมบนขวา รูปสิงโตสกอตโบราณสีแดงในกรอบขอบลายสกอตสีแดงบนพื้นเหลือง แทนสกอต
ช่องที่ 3 ช่องกลางซ้าย รูปฮาร์พเกลลิคสีทองบนพื้นนำเงิน แทนไอร์แลนด์
ช่องที่ 4 ช่องกลางขวา รูปสัญลักษณ์ดอกลิลลีสีทอง 3 ดอกบนพื้นนำเงิน แทนฝรั่งเศส
ช่องที่ 5 ช่องล่างสุด รูปใบเมเปิ้ล 3 ใบใน 1 กิ่งบนพื้นสีขาว แทนแคนาดา
ประคองข้างสิงห์สีทอง ถือธงยูเนียนแจ็ก และยูนิคอร์นสีเงิน ถือธงดอกเฟลอร์เดอลีส์.
ฐานรองข้างกุหลาบ (กุหลาบทิวดอร์, กุหลาบขาวแห่งยอร์ก, กุหลาบแดงแห่งแลงคาสเตอร์), แชมร็อค และ ซิสเซิล.
คำขวัญละติน: A Mari usque ad Mare (จากทะเลสู่ทะเล)
อิสริยาภรณ์แพรริบบิ้นเครื่องราชอิสริยาภรณ์แคนาดา ภายในจารึกว่าละติน: Desiderantes Meliorem Patriam "they desire a better country."
การใช้รัฐบาลแคนาดา ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร

ประวัติ แก้

ศควรรษที่ 19 แก้

ยุคแรกใช้ในช่วงปี พ.ศ. 2411-2464 เดิมตราแผ่นดินแบ่งเป็นโล่ 4 ช่อง เพื่อแสดงถึงจังหวัดทั้ง 4 คือ ออนตาริโอ ควิเบก โนวาสโกเชีย นิวบรันส์วิก แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดคือ

  • ช่องที่ 1 ช่องมุมบนซ้าย ออนตาริโอ รูปกากบาทเซนต์จอร์จสีแดงด้านบนโล่ และใบเมเปิลสีเหลือง3ใบใน1กิ่งบนพื้นโล่สีเขียว
  • ช่องที่ 2 ช่องมุมบนขวา ควิเบก รูปกากบาทเซนต์จอร์จสีขาวบนพื้นนำเงิน แต่ละช่องมีรูปสัญลักษณ์ดอกลิลลีสีขาววางตรงกลางช่อง
  • ช่องที่ 3 ช่องมุมล่างซ้าย โนวาสโกเชีย รูปกากบาทเซนต์แอนดรูว์สีน้าเงินบนพื้นขาว ตรงกลางกากบาทมีโล่รูปสิงโตสกอตโบราณสีแดงในกรอบขอบลายสกอตสีแดงบนพื้นเหลือง แทนสกอต
  • ช่องที่ 4 ช่องมุมล่างขวา นิวบรันส์วิก รูปสิงโตอังกฤษโบราณสีเหลืองตัวเดียวบนพื้นสีแดงด้านบนโล่ และมีรูปเรือใบโบราณที่แล่นในทะเลบนพื้นท้องฟ้าสีเหลือง
         
พ.ศ. 2411-2413 พ.ศ. 2413-2416 พ.ศ. 2416-2439 พ.ศ. 2439-2450 พ.ศ. 2450-2464

ศควรรษที่ 20 แก้

ในช่วง พ.ศ. 2464-2537 ได้เปลี่ยนตราใหม่เป็นตราอาร์มแบ่งเป็น 5 ช่อง ซึ่งแต่ละช่องมีความหมายดังนี้คือ

  • ช่องที่ 1 ช่องมุมบนซ้าย รูปสิงโตอังกฤษโบราณสีเหลือง 3 ตัวบนพื้นสีแดง แทนอังกฤษ
  • ช่องที่ 2 ช่องมุมบนขวา รูปสิงโตสกอตโบราณสีแดงในกรอบขอบลายสกอตสีแดงบนพื้นเหลือง แทนสกอต
  • ช่องที่ 3 ช่องกลางซ้าย รูปฮาร์พเกลลิคสีทองบนพื้นนำเงิน แทนไอร์แลนด์
  • ช่องที่ 4 ช่องกลางขวา รูปสัญลักษณ์ดอกลิลลีสีทอง 3 ดอกบนพื้นนำเงิน แทนฝรั่งเศส
  • ช่องที่ 5 ช่องล่างสุด รูปใบเมเปิ้ล 3 ใบใน 1 กิ่งบนพื้นสีขาว แทนแคนาดา แต่รูปแบบใบเมเปิลที่ใช้มีการเปลี่ยนแปลง 2 ครั้ง คือ ใน พ.ศ. 2465-2500 ใช้รูปใบเมเปิ้ลเป็นใบสีเขียว ต่อมาเปลี่ยนเป็นใบเมเปิ้ลเป็นใบสีแดงในช่วง พ.ศ. 2500-2537

ตราแผ่นดินของแคนาดาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ เริ่มใช้มาตั้ง พ.ศ. 2537

       
ตราแผ่นดินแคนาดา พ.ศ. 2448 ตราแผ่นดินแคนาดา พ.ศ. 2464-2500 ตราแผ่นดินแคนาดา พ.ศ. 2500-2537 ตราแผ่นดินแคนาดา พ.ศ. 2537

ความหมาย แก้

ราส่วนประกอบ รายละเอียด รูปภาพ
มงกุฎราชาภิเษก แบบมงกุฎราชาภิเษกที่ใช้เป็นเครื่องหมายยศนายทหาร (นายพัน และ นายพล) มงกุฎทิวดอร์ ที่ใช้มาตั้งแต่ ค.ศ. 1902 [3] เปลี่ยนเป็นมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1953 ในรัชสมัย สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ใช้เป็นสัญลักษณ์ปรากฏในตราสัญลักษณ์ ตราอาร์ม และ ตราราชการอื่นๆ.[11][12]
 
เครื่องยอด สิงโตสวมมงกุฎถือในเมเปิ้ลสีแดงบนยืนบนแพรประดับสีแดง-ขาว,[11] ตราดังกล่าวนี้ใช้เป็นตราราชการของ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แห่งแคนาดา.[13] โดยปรากฎบนธงประจำตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์.[13]
 
แพรประดับ ชุดเกราะนักรบส่วนศีรษะ ประกอบแพรประดับช่อเมเปิลสีแดง-ขาว และ เออร์มิน.[14]
 
โล่กลาง ช่องที่ 1 ช่องมุมบนซ้าย รูปสิงโตอังกฤษโบราณสีเหลือง 3 ตัวบนพื้นสีแดง แทนอังกฤษ [15]
ช่องที่ 2 ช่องมุมบนขวา รูปสิงโตสกอตโบราณสีแดงในกรอบขอบลายสกอตสีแดงบนพื้นเหลือง แทนสกอต
ช่องที่ 3 ช่องกลางซ้าย รูปฮาร์พเกลลิคสีทองบนพื้นนำเงิน แทนไอร์แลนด์
ช่องที่ 4 ช่องกลางขวา รูปสัญลักษณ์ดอกลิลลีสีทอง 3 ดอกบนพื้นนำเงิน แทนฝรั่งเศส[16]
ช่องที่ 5 ช่องล่างสุด รูปใบเมเปิ้ล 3 ใบใน 1 กิ่งบนพื้นสีขาว แทนแคนาดา.[17]
 
แถบแพรริบบิ้น แพรริบบิ้นเครื่องราชอิสริยาภรณ์แคนาดา[18] ภายในจารึกข้อความว่า desiderantes meliorem patriam, meaning "desiring a better country, ยกมาจาก จดหมายถึงชาวฮีบรู 11:16.[19] .[11]
 
คำขวัญ a mari usque ad mare (จากทะเลสู่ทะเล), ยกมาจากหนังสือเพลงสดุดี 72:8.[20] This phrase was suggested by Joseph Pope, then-Under Secretary of State, when the Arms were redesigned in 1921.[21] The motto was originally used in 1906 on the head of the mace of the Legislative Assembly of Saskatchewan.[20]

In March 2006, the premiers of Canada's three territories called for the amendment of the motto to better reflect the vast geographic nature of Canada's territory,[22] as Canada has coastlines on the Arctic, Atlantic, and Pacific Oceans. Two suggestions for a new motto are A mari ad mare ad mare (from sea to sea to sea) and A mari usque ad maria (from the sea to the other seas).[23][24]

 
ประคองข้าง ประคองข้างของตราแผ่นดินขแห่งแคนาดาได้รับอิทธิพลจากตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร.[21] The English lion[11] สิงห์โตสีทองแห่งอังกฤษ ถือธงยูเนียนแจ็ก . [11] และ ยูนิคอร์นสีเงินแห่งสกอตแลนด์ ถือธงดอกเฟลอร์เดอลีส์.[21] ฉะนั้นยูนิคอร์นที่ใช้ในอิสริยาภรณ์จึงเป็นยูนิคอร์นที่ล่ามโซ่ เช่นเดียวกับยูนิคอร์นสองตัวที่ประคองข้างตราแผ่นดินของสกอตแลนด์.[11]
 
ฐานรองข้าง กุหลาบทิวดอร์ หมายถึง อังกฤษ และ เวลส์, ประกอบด้วย กุหลาบขาวแห่งยอร์ก และ กุหลาบแดงแห่งแลงคาสเตอร์.[21] แชมร็อค, และ ซิสเซิล หมายถึง สกอตแลนด์ และ ไอร์แลนด์[11], ดอกเฟลอร์เดอลีส์ หมายถึงสัญลักษณ์ของราชวงศ์บูร์บงแห่งฝรั่งเศส ตั้งแต่ ศตวรรษที่ 12.[21][25]
 

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 Department of Canadian Heritage (2008). "Canada: Symbols of Canada" (PDF). Ottawa: Queen's Printer for Canada: 6. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-06-11. สืบค้นเมื่อ 9 September 2009. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  2. http://www2.parl.gc.ca/HousePublications/Publication.aspx?Language=E&Mode=1&Parl=35&Ses=1&DocId=2332530#ROYALARMSOFCANADA. Parliamentary Debates (Hansard). Commons. 5 December 1995. col. 1410–1415. {{cite book}}: |chapter-url= missing title (help) "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-06-15. สืบค้นเมื่อ 2022-10-31.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  3. 3.0 3.1 Military Police Complaints Commission. "The Commission > Publications > Outlook With Vision: Annual Report 2001". Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-24. สืบค้นเมื่อ 28 June 2009.
  4. Bank of Canada. "Currency Museum > Learning Centre". Queen's Printer for Canada. สืบค้นเมื่อ 28 June 2009.[ลิงก์เสีย]
  5. Reynolds, Ken. "Pro Valore: Canada's Victoria Cross" (PDF) (2 ed.). Ottawa: Queen's Printer for Canada: 40. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-23. สืบค้นเมื่อ 31 July 2009. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  6. Department of National Defence. "Features > 2008 > Modern Canadian Victoria Cross unveiled at Rideau Hall". Queen's Printer for Canada. สืบค้นเมื่อ 4 August 2009.
  7. Bousfield, Arthur (2002). Fifty Years the Queen. Toronto: Dundurn Press. p. 35. ISBN 1-55002-360-8. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  8. Citizenship and Immigration Canada (2009). Discover Canada (PDF). Ottawa: Queen's Printer for Canada. pp. 38, 61. ISBN 978-1-100-12739-2. สืบค้นเมื่อ 3 December 2009.
  9. "The Coat of Arms of Canada – A Short History". Royal Heraldry Society of Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-01-30. สืบค้นเมื่อ 28 June 2009.
  10. Treasury Board of Canada Secretariat. "Federal Identity Program > Top 10 Policy Guidance Issues". Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-15. สืบค้นเมื่อ 4 February 2011.
  11. 11.0 11.1 11.2 11.3 11.4 11.5 11.6 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ RHSC
  12. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ fraser2
  13. 13.0 13.1 "Symbols of the Governor General". Rideau Hall. สืบค้นเมื่อ 21 November 2008.
  14. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ symbols
  15. "Royal Arms of Britain". Heraldica.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 December 2008. สืบค้นเมื่อ 21 November 2008.
  16. "The History of Heraldry in Canada". Royal Heraldry Society of Canada. 28 เมษายน 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 มีนาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2008.
  17. "Symbols of Canada" (PDF). Canadian Heritage. 2008. p. 9. สืบค้นเมื่อ 20 November 2008.
  18. "The Constitution of the Order of Canada". Governor General of Canada. 6 December 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 May 2011. สืบค้นเมื่อ 21 November 2008.
  19. "The Canadian Heraldic Authority". Canadian Heraldic Authority. 27 September 2005 [updated 14 June 2006]. สืบค้นเมื่อ 2 September 2008.
  20. 20.0 20.1 Lamb, W. Kaye. "A Mari usque ad Mare". The Canadian Encyclopedia. Historica Foundation of Canada. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2007. สืบค้นเมื่อ 21 November 2008.
  21. 21.0 21.1 21.2 21.3 21.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ description
  22. Andrew Chung (28 October 2007). "Time to herald our northern coast?". The Star. Toronto. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 October 2008. สืบค้นเมื่อ 21 November 2008.
  23. Deveau, Scott (3 กันยายน 2006). "From sea to sea to sea". Theglobeandmail.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 มกราคม 2012. สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2008.
  24. CBC News (10 March 2006). "'To sea' or not 'to sea': that is the question". Cbc.ca. สืบค้นเมื่อ 21 November 2008.
  25. Lewis, Philippa; Darley, Gillian (1986). Dictionary of Ornament. Pantheon. ISBN 978-0394509310.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้