ดิช็อกซิน (Digoxin) หรือชื่อทางการค้าคือ ลาน็อกซิน (Lanoxin) เป็นยาในกลุ่มคาร์ดิแอกไกลโคไซด์[2] ใช้สำหรับโรคระบบหัวใจหลอดเลือด อาทิ หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ, หัวใจสั่นระรัว และภาวะหัวใจวาย สามารถรับยานี้ได้โดยการรับประทานหรือฉีดเข้าหลอดเลือดดำ[2]

ดิช็อกซิน
ข้อมูลทางคลินิก
การอ่านออกเสียง/dɪˈɒksɪn/, with a soft gee[1]
ชื่อทางการค้าLanoxin, others
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa682301
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
ช่องทางการรับยารับประทาน, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
  • S4 (Au), POM (UK), ℞-only (U.S.)
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล60 ถึง 80% (ทางปาก)
การจับกับโปรตีน25%
การเปลี่ยนแปลงยาตับ (16%)
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ36 ถึง 48 ชั่วโมง
(ผู้มีไตปกติ)
3.5 ถึง 5 วัน
(ผู้มีปัญหาไต)
การขับออกไต
ตัวบ่งชี้
  • 4-[(3S,5R,8R,9S,10S,12R,13S,14S)-3-[(2S,4S,5R,6R)-5-[(2S,4S,5R,6R)-5-[(2S,4S,5R,6R)-4,5-dihydroxy-6-methyl-oxan-2-yl]oxy-4-hydroxy-6-methyl-oxan-2-yl]oxy-4-hydroxy-6-methyl-oxan-2-yl]oxy-12,14-dihydroxy-10,13-dimethyl-1,2,3,4,5,6,7,8,9,11,12,15,16,17-tetradecahydrocyclopenta[a]phenanthren-17-yl]-5H-furan-2-one
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.040.047
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC41H64O14
มวลต่อโมล780.949 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
จุดหลอมเหลว249.3 องศาเซลเซียส (480.7 องศาฟาเรนไฮต์)
การละลายในน้ำ0.0648 mg/mL (20 °C)
  • O=C\1OC/C(=C/1)[C@H]2CC[C@@]8(O)[C@]2(C)[C@H](O)C[C@H]7[C@H]8CC[C@H]6[C@]7(C)CC[C@H](O[C@@H]5O[C@H](C)[C@@H](O[C@@H]4O[C@@H]([C@@H](O[C@@H]3O[C@@H]([C@@H](O)[C@@H](O)C3)C)[C@@H](O)C4)C)[C@@H](O)C5)C6
  • InChI=1S/C41H64O14/c1-19-36(47)28(42)15-34(50-19)54-38-21(3)52-35(17-30(38)44)55-37-20(2)51-33(16-29(37)43)53-24-8-10-39(4)23(13-24)6-7-26-27(39)14-31(45)40(5)25(9-11-41(26,40)48)22-12-32(46)49-18-22/h12,19-21,23-31,33-38,42-45,47-48H,6-11,13-18H2,1-5H3/t19-,20-,21-,23-,24+,25-,26-,27+,28+,29+,30+,31-,33+,34+,35+,36-,37-,38-,39+,40+,41+/m1/s1 checkY
  • Key:LTMHDMANZUZIPE-PUGKRICDSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

การใช้ยาเกินขนาดจะส่งผลให้เกิดอาการเต้านมโต[2][3] และอาจมีอาหารอื่นร่วมด้วยอาทิ ไม่อยากอาหาร, คลื่นไส้, มองไม่ชัด, จิตสับสน และหัวใจเต้นผิดจังหวะ ผู้ที่ไตมีปัญหาและผู้สูงอายุควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษ[3] ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่ายานี้ปลอดภัยต่อสตรีมีครรภ์หรือไม่[4]

ดิช็อกซินถูกคิดค้นขึ้นในปี ค.ศ. 1930 ได้มาจากสารสกัดจากต้นถุงมือจิ้งจอก[5][6] ดิช็อกซินได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก.[7]

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. OED
  2. 2.0 2.1 2.2 "Digoxin". The American Society of Health-System Pharmacists. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.
  3. 3.0 3.1 WHO Model Formulary 2008 (PDF). World Health Organization. 2009. p. 270. ISBN 9789241547659. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.
  4. "Digoxin Use During Pregnancy | Drugs.com". www.drugs.com. สืบค้นเมื่อ 14 December 2016.
  5. Cartwright, Anthony C. (2016). The British Pharmacopoeia, 1864 to 2014: Medicines, International Standards and the State (ภาษาอังกฤษ). Routledge. p. 183. ISBN 9781317039792.
  6. Hollman, A (6 April 1996). "Drugs for atrial fibrillation. Digoxin comes from Digitalis lanata". BMJ (Clinical research ed.). 312 (7035): 912. doi:10.1136/bmj.312.7035.912. PMC 2350584. PMID 8611904.
  7. "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.