ซีเมนส์ อินสไปโร

ซีเมนส์ อินสไปโร (อังกฤษ: Siemens Inspiro) เป็นตระกูลรถรางไฟฟ้าเพื่อระบบขนส่งด่วนพิเศษ ผลิตโดย ซีเมนส์โมบิลิตี้ แนวคิดของยานพาหนะดังกล่าวเปิดตัวเมื่อ พ.ศ. 2555 โดยมีแนวคิดหลักเป็นการใช้ส่วนจำเพาะ ทำให้มีรุ่นดัดแปลงของพาหนะรถไฟจำนวนมาก โดยรถชุดแรกได้เริ่มออกให้บริการกับระบบรถไฟฟ้าวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ เมื่อ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ซีเมนส์ อินสไปโร
รถไฟฟ้าซีเมนส์ อินสไปโร ของรถไฟใต้ดินวอร์ซอ สาย M2
ภายในรถไฟฟ้ารุ่นซีเมนส์ อินสไปโรของรถไฟใต้ดินวอร์ซอ สาย M2
ภายในรถไฟฟ้ารุ่นซีเมนส์ อินสไปโรของรถไฟใต้ดินวอร์ซอ สาย M2
ประจำการพ.ศ. 2556–ปัจจุบัน
ผู้ผลิตซีเมนส์โมบิลิตี
รูปแบบการจัดขบวนชุดรถไฟ 2–8 ตู้
ความจุผู้โดยสาร174 ที่นั่ง
1,554 ที่นั่งและยืน
ผู้ให้บริการโปแลนด์ รถไฟใต้ดินวอร์ซอ
เยอรมนี รถไฟใต้ดินมิวนิก
มาเลเซีย แรปิดเคแอล
ซาอุดีอาระเบีย รถไฟฟ้ารียาด
บัลแกเรีย รถไฟใต้ดินโซเฟีย
คุณลักษณะ
ความยาวประมาณ 89,560 มม.
ความกว้าง3.1 m (10 ft) (ตามแนวบานประตู)
ความสูง1.1 m (3 ft 7 in) (ความสูงพื้น)
ความเร็วสูงสุดเป้าหมาย: 100 km/h (62 mph)
ให้บริการ: 80 km/h (50 mph)
ระบบจ่ายไฟฟ้ารางที่สาม 750 โวลต์
มาตรฐานทางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in)

จุดกำเนิด แก้

ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552, ซีเมนส์โมบิลิตี้ได้เริ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ตระกูลรถไฟใต้ดินใหม่ โดยร่วมมือกับ DesignworksUSA ในด้านการออกแบบ โดยบริษัทที่ออกแบบบนยานพาหนะให้กับรุ่น Mo.Mo ซึ่งผลิตก่อนหน้านี้สำหรับเวียนนาปรากออสโลและนูเรมเบิร์ก และได้เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อ 19 กันยายน พ.ศ. 2555 ที่งานอินโนทรานส์ (InnoTrans) ณ กรุงเบอร์ลิน

นับจากนั้นซีเมนส์ได้เริ่มขายระบบรถไฟฟ้ารุ่นนี้เป็นหลักแทนโมดูลาร์ เมโทร โดยยังชูจุดเด่นเดิมคือผู้ผลิตสามารถสั่งประกอบหรือออกแบบขบวนรถเองได้โดยไม่มีข้อจำกัด เนื่องจากเป็นการใช้ส่วนจำเพาะหลัก ๆ ของระบบ

การใช้งาน แก้

มาเลเซีย แก้

รถไฟฟ้าเมืองกัวลาลัมเปอร์ สายซูไงบูโละฮ์-กาจัง จำนวน 4 คันต่อขบวน ถูกออกแบบให้เป็นระบบรถไฟฟ้าแบบไร้คนขับ[1]

โปแลนด์ แก้

รถไฟฟ้าเมืองวอร์ซอ จำนวน 6 คันต่อขบวน[2]

ซาอุดีอาระเบีย แก้

รถไฟฟ้าเมืองรียาด จำนวน 2-4 คันต่อขบวน[3][4]

สหราชอาณาจักร แก้

รถไฟใต้ดินลอนดอน (NTfL; New Tube for London) จำนวน 6-8 คันต่อขบวน[5]

บัลแกเรีย แก้

รถไฟฟ้าเมืองโซเฟีย จำนวน 3 คันต่อขบวน[6][7]

เยอรมนี แก้

รถไฟฟ้าเมืองมิวนิก จำนวน 6 คันต่อขบวน

ระเบียงภาพ แก้

อ้างอิง แก้

  1. "Siemens Inspiro Metro". bmwgroupdesignworks.com.
  2. "Inspiro Metro Trains, Metro Warszawskie, Warsaw, Poland". railway-technology.com.
  3. "Siemens to supply Inspiro trains for the Riyadh metro". railwaygazette.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-18. สืบค้นเมื่อ 2020-02-23.
  4. "Siemens to supply 74 Inspiro metros to Riyadh". globalrailnews.com.
  5. "Siemens bags £1.5bn contract to build new generation Tube trains | Global Rail News". Global Rail News (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2018-06-15. สืบค้นเมื่อ 2018-06-15.
  6. Newag and Siemens present first Sofia Line 3 metro train
  7. Siemens i Newag z umową na Inspiro dla Sofii