ในภูมิศาสตร์และวิชาการทำแผนที่ ซีกโลก คือการกล่าวถึงส่วนของโลกที่ถูกแบ่งเป็นสองซีก (ซีก หรือ Hemispheres มาจากภาษากรีกโบราณ ἡμισφαίριον hēmisphairion อันมีความหมายว่า "ครึ่งทรงกลม")

การแบ่งพื้นที่โลกด้วยเส้นศูนย์สูตรและเส้นเมริเดียนแรก
ซีกโลกตะวันตก (ซ้าย), ซีกโลกตะวันออก (ขวา)

การแบ่งซีกโลกส่วนมากจะใช้เส้นละติจูดและลองจิจูด:[1]

การแบ่งซีกโลกตะวันออกและซีกโลกตะวันตกยังมีความสำคัญในแง่ของวัฒนธรรมเพราะแสดงให้ถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่าง 2 ซีกโลก

อย่างไรก็ตามยังมีการพยายามที่จะแบ่งดาวเคราะห์ออกเป็นสองซีกโดยใช้ลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์ เช่น:

The Land Hemisphere
ซีกโลกแผ่นดิน
The Water Hemisphere
ซีกโลกสมุทร
The Land Hemisphere is at the top, and the Water Hemisphere is at the bottom.
ซีกโลกแผ่นดินอยู่ทางเหนือของเส้นแดงส่วนซีกโลกสมุทรอยู่ทางใต้ของเส้นแดง
The Land Hemisphere is at the top and the Water Hemisphere is at the bottom
ซีกโลกแผ่นดินอยู่ทางเหนือของเส้นแดงส่วนซีกโลกสมุทรอยู่ทางใต้ของเส้นแดง

นอกจากนี้การฉายแสงของดางอาทิตย์ก็สามารถแบ่งโลกเป็น 2 ซีกคือกลางวันและกลางคืนได้

อ้างอิง แก้

  1. "Hemisphere". 2011-03-22.
  2. Boggs, S. W. (1945). "This Hemisphere". Journal of Geography. 44 (9): 345–355. doi:10.1080/00221344508986498.

ข้อมูลเพิ่มเติม แก้

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ซีกโลก