จังหวัดดาเวาโอเรียนตัล

จังหวัดดาเวาโอเรียนตัล (เซบัวโน: Sidlakang Dabaw) เป็นจังหวัดในเขตดาเบา ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองศูนย์กลางคือมาตี เป็นจังหวัดที่อยู่ทางทิศตะวันออกสุดของประเทศ โดยจุดตะวันออกสุดคือแหลมปูซัน ตั้งอยู่ที่เทศบาลคารากา แหลมนี้ติดกับทะเลฟิลิปปินในมหาสมุทรแปซิฟิก

จังหวัดดาเวาโอเรียนตัล
จังหวัด
อ่าวปูฮาดา จังหวัดดาเวาโอเรียนตัล
อ่าวปูฮาดา จังหวัดดาเวาโอเรียนตัล
ธงของจังหวัดดาเวาโอเรียนตัล
ธง
สมญา: 
เมืองแห่งมะพร้าว[1][2]
เพลง: Banwa na Madayaw
ที่ตั้งในประเทศฟิลิปปินส์
ที่ตั้งในประเทศฟิลิปปินส์
ประเทศ ฟิลิปปินส์
เขตดาเบา
ก่อตั้ง8 พฤษภาคม ค.ศ. 1967
เมืองหลักมาตี
การปกครอง
 • ประเภทซังกูเนียงปันลาลาวีกัน
 • ผู้ว่าราชการจังหวัดNelson Dayanghirang (PDP-Laban)
 • รองผู้ว่าราชการจังหวัดNiño Uy (PDP-Laban)
พื้นที่[3]
 • ทั้งหมด5,679.64 ตร.กม. (2,192.92 ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่14 จาก 81
ความสูงจุดสูงสุด (ภูเขาฮามีกีตัน)1,620 เมตร (5,310 ฟุต)
ประชากร
 (ค.ศ. 2015) [4]
 • ทั้งหมด558,958 คน
 • อันดับ54 จาก 81
 • ความหนาแน่น98 คน/ตร.กม. (250 คน/ตร.ไมล์)
 • อันดับความหนาแน่น70 จาก 81
เขตการปกครอง
 • นครมาตี
 • เทศบาล
 • บารังไกย์183
 • Districts1st and 2nd districts of Davao Oriental
เขตเวลาUTC+8 (PHT)
รหัสไปรษณีย์8200–8210
ไอดีดี:รหัสโทรศัพท์+63 (0)87
รหัส ISO 3166PH
ภาษา
เว็บไซต์www.davaooriental.gov.ph

จังหวัดดาเวาโอเรียนตัลมีชื่อเสียงสำหรับแหล่งเพาะปลูกมะพร้าวรายใหญ่ของประเทศ จนได้รับสมญาว่า เมืองแห่งมะพร้าวของฟิลิปปินส์[1][2]

ภูมิอากาศ แก้

จังหวัดดาเวาโอเรียนตัลมีฤดูฝนที่ยาวนาน และมีฤดูร้อนที่สั้น ฝนตกมากในช่วงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง[5]

ข้อมูลภูมิอากาศของจังหวัดดาเวาโอเรียนตัล
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 30.5
(86.9)
31.0
(87.8)
32.0
(89.6)
32.8
(91)
32.2
(90)
31.8
(89.2)
31.3
(88.3)
31.5
(88.7)
31.8
(89.2)
32.3
(90.1)
31.8
(89.2)
31.3
(88.3)
31.69
(89.05)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 23.7
(74.7)
23.9
(75)
24.1
(75.4)
24.7
(76.5)
24.8
(76.6)
24.6
(76.3)
24.4
(75.9)
24.5
(76.1)
24.4
(75.9)
24.4
(75.9)
24.4
(75.9)
24.2
(75.6)
24.34
(75.82)
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย 15 11 13 11 15 17 15 14 13 15 15 13 167
แหล่งที่มา: Storm247 [6]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 Duallo, Neela (July 31, 2009). "1st Mindanao Coconut Summit takes centerstage in coco capital of RP". PIA Archive News Reader. Philippine Information Agency. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 28, 2016. สืบค้นเมื่อ March 19, 2016. Being the number one coconut producer in the country, the province of Davao Oriental, the local government unit of Mati and the Mindanao Business Council has taken the initiative in addressing the today's plight of the coconut industry, initiate moves to save the industry, and help the coconut farmers so they can hold on, continue to cultivate their land, and bring back the glory of the product that has given both comfort and challenge to the economic lives of the people of the province.
  2. 2.0 2.1 "Davao Oriental Gov Malanyaon joins GMA in Spain". Mindanao News and Information Cooperative Center. Davao Oriental Information Office. November 30, 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-26. สืบค้นเมื่อ March 19, 2016. As the “coconut capital” of the Philippines, Davao Oriental produces one billion nuts annually covering a total crop area of 154,000 hectares. The major products exported by the province through the International Copra Exporter’s Corporation are crude oil and copra pellets. Records show that export of 816,863 metric tons of crude oil and pellets from 1997 to 2001 is valued at $185.7 million. Davao Oriental is also the top producer of abaca fiber in Southern Mindanao. A total of 7,110 hectares is planted to abaca with production volume of 7,500 metric tons. The provincial government says that another 200,000 hectares is being targeted for the expansion of abaca production. Abaca plantations are located in the municipalities of Manay, Baganga, Cateel, Boston, Tarragona, Lupon, Banaybanay and in the City of Mati, the province’s capital. Recently, the province started to plant banana for export particularly in the municipality of Lupon, San Isidro, Governor Generoso and Mati.
  3. "List of Provinces". PSGC Interactive. Makati, Philippines: National Statistical Coordination Board. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 11, 2013. สืบค้นเมื่อ April 15, 2014.
  4. Census of Population (2020). "Region XI (Davao Region)". Total Population by Province, City, Municipality and Barangay. PSA. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2021.
  5. Lancion, Jr., Conrado M.; cartography by de Guzman, Rey (1995). "The Provinces; Davao Oriental". Fast Facts about Philippine Provinces (The 2000 Millenium ed.). Makati, Metro Manila, Philippines: Tahanan Books. p. 70. ISBN 971-630-037-9. สืบค้นเมื่อ 28 April 2016.
  6. "Weather forecast for Davao Oriental, Philippines". Storm247.com. StormGeo AS, Nordre Nøstekaien 1, N-5011 Bergen, Norway: StormGeo AS. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-01. สืบค้นเมื่อ 28 April 2016.{{cite web}}: CS1 maint: location (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

แผนที่พิกัดทั้งหมดใน "Davao Oriental" กำลังใช้ OpenStreetMap 
ดาวน์โหลดพิกัดเป็น KML