จักรยานลู่ชิงแชมป์โลก 2019

จักรยานลู่ชิงแชมป์โลก 2019 (อังกฤษ: 2019 UCI Track Cycling World Championships; โปแลนด์: Mistrzostwa Świata w Kolarstwie Torowym 2019) จัดขึ้นที่สนามกีฬาแบกีแยแชต ใน ปรุชกุฟ ประเทศโปแลนด์ ระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์ – 3 มีนาคม ค .ศ. 2019 ซึ่งเป็นการแข่งขันชิงแชมป์โลกครั้งที่ 116

จักรยานลู่ชิงแชมป์โลก 2019
สนามแข่งขันปรุชกุฟ ประเทศโปแลนด์
วันที่27 กุมภาพันธ์ – 3 มีนาคม
สนามเวโลโดรมสนามกีฬาแบกีแยแชต
ประเทศที่เข้าร่วม47
รายการ20

ผู้ได้รับเหรียญรางวัล แก้

ประเภทชาย แก้

Event เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
สปรินต์[1] ฮาร์รี ลัฟแร็ยเซิน
  เนเธอร์แลนด์
เจฟฟรีย์ โฮกลันด์
  เนเธอร์แลนด์
มาแตอุช รูดึก
  โปแลนด์
ไทม์ไทรอัล 1 กม. [2] ก็องแต็ง ลาฟาร์ก
  ฝรั่งเศส
เตโอ บ็อส
  เนเธอร์แลนด์
มีชาเอล เดอัลแมดา
  ฝรั่งเศส
เปอร์ซูตบุคคล[3] ฟีลิปโป กันนา
  อิตาลี
โดเมนิค ไวน์สไตน์
  เยอรมนี
ดาวีเด เปลบานี
  อิตาลี
ทีมเปอร์ซูต[4]   ออสเตรเลีย
แซม เวลส์ฟอร์ด
เคลแลนด์ โอไบรอัน
ลีห์ ฮาเวิร์ด
อเล็กซานเดอร์ พอร์เตอร์
แคเมรอน สกอตต์
  บริเตนใหญ่
อีธาน เฮย์เตอร์
เอ็ด แคลนซี
เคียน แอมาดี
ชาร์ลี แทนฟีลด์
โอลิเวอร์ วูด
  เดนมาร์ก
นิคแลส ลาร์เซิน
แลสเซอ นอร์แมน แฮนเซิน
รัสมูส พีเดอร์เซิน
แคสเปอร์ วอน ฟูลส์อัค
ยูลีอุส โยแฮนเซิน
ทีมสปรินต์[5]   เนเธอร์แลนด์
โรย ฟัน แด็น แบร์ก
ฮาร์รี ลัฟแร็ยเซิน
มัตไตส์ บืชลี
เจฟฟรีย์ โฮกลันด์
  ฝรั่งเศส
เกรกอรี โบฌี
เซบัสเตียง วีฌีร์
มีชาเอล เดอัลแมดา
ก็องแต็ง ลาฟาร์ก
  รัสเซีย
เดนิส ดมีตรีเยฟ
อะเลคซันดร์ ชาราปอฟ
ปาเวล ยากูเชฟสกี

คีริน[6] มัตไตส์ บืชลี
  เนเธอร์แลนด์
ยูได นิตตะ
  ญี่ปุ่น
ชเตฟัน เบิททีเชอร์
  เยอรมนี
สแกรตช์[7] แซม เวลส์ฟอร์ด
  ออสเตรเลีย
โรย เอฟติง
  เนเธอร์แลนด์
ทอมัส เซกซ์ตัน
  นิวซีแลนด์
พอยส์เรซ[8] ยัน-วิลแล็ม ฟัน สคิป
  เนเธอร์แลนด์
เซบัสเตียน โมรา
  สเปน
มาร์ก ดาวนีย์
  ไอร์แลนด์
แมดิสัน[9]   เยอรมนี
โรเจอร์ คลูเกอ
เทโอ ไรน์ฮาร์ท
  เดนมาร์ก
แลสเซอ นอร์แมน แฮนเซิน
แคสเปอร์ วอน ฟูลส์อัค
  เบลเยียม
เกนนี เดอ เกเตอเลอ
รอบเบอ กิส
ออมเนียม[10] แคมป์เบิล สจวร์ต
  นิวซีแลนด์
แบ็งฌาแม็ง โตมา
  ฝรั่งเศส
อีธาน เฮย์เตอร์
  สหราชอาณาจักร

ประเภทหญิง แก้

Event เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
สปรินต์[11] หลี่ ฮุ่ยชือ
  ฮ่องกง
สเตฟานี มอร์ตัน
  ออสเตรเลีย
มาตีลด์ โกร
  ฝรั่งเศส
ไทม์ไทรอัล 500 ม.[12] ดาเรีย เชมเวลา
  รัสเซีย
โอเลนา สตารีโควา
  ยูเครน
คาร์เล แมกคัลลอค
  ออสเตรเลีย
เปอร์ซูตบุคคล[13] แอชลีย์ แอนกูดินอฟฟ์
  ออสเตรเลีย
ลิซา เบรนเนาเออร์
  เยอรมนี
ลีซา ไคลน์
  เยอรมนี
เปอร์ซูตบุคคล[14]   ออสเตรเลีย
แอนเนตต์ เอดมอนด์สัน
แอชลีย์ แอนกูดินอฟฟ์
จอร์เจีย เบเกอร์
เอมี เคียวร์
อเล็กซานดรา แมนลี
  บริเตนใหญ่
ลอรา เคนนี
เคที อาร์ชิบอลด์
แอลีนอร์ บาร์เกอร์
แอลลี ดิกคินสัน
  นิวซีแลนด์
คริสตี เจมส์
ฮอลลี เอดมอนด์สัน
ไบรโอนี บอตา
มิแคลา ดรัมมอนด์
รัชลี บูแคนัน
ทีมเปอร์ซูต[15]   ออสเตรเลีย
คาร์เล แมกคัลลอค
สเตฟานี มอร์ตัน
  รัสเซีย
ดาเรีย เชมเลวา
อะนัสตาซียา วอยโนวา
  เยอรมนี
มีเรียม เวลเทอ
เอมมา ฮินเซอ
คีริน[16] หลี่ ฮุ่ยชือ
  ฮ่องกง
คาร์เล แมกคัลลอค
  ออสเตรเลีย
ดาเรีย เชมเลวา
  รัสเซีย
สแกรตช์[17] เอลีนอร์ บาร์เกอร์
  สหราชอาณาจักร
กริสเติน วิลด์
  เนเธอร์แลนด์
โยลิน ดูเรอ
  เบลเยียม
พอยส์เรซ[18] อเล็กซานดรา แมนลี
  ออสเตรเลีย
ลีเดีย บอยแลน
  ไอร์แลนด์
กริสเติน วิลด์
  เนเธอร์แลนด์
แมดิสัน[19]   เนเธอร์แลนด์
กริสเติน วิลด์
เอมี ปีเตอร์ส
  ออสเตรเลีย
จอร์เจีย เบเกอร์
เอมี เคียวร์
  เดนมาร์ก
เอเมลี ดือเดริคเซิน
ยูลี เลท
ออมเนียม[20] กริสเติน วิลด์
  เนเธอร์แลนด์
เลตีเซีย ปาเตร์โนสเตร์
  อิตาลี
เจนนิเฟอร์ วาเลนที
  สหรัฐ
  • ในช่องสีเทาเป็นรายการที่ไม่ได้ขึ้นในกีฬาโอลิมปิก

ตารางเหรียญรางวัล แก้

  *  เจ้าภาพ (โปแลนด์)

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  เนเธอร์แลนด์ (NED)64111
2  ออสเตรเลีย (AUS)63110
3  ฮ่องกง (HKG)2002
4  เยอรมนี (GER)1236
5  ฝรั่งเศส (FRA)1225
6  บริเตนใหญ่ (GBR)1214
7  รัสเซีย (RUS)1124
8  อิตาลี (ITA)1113
9  นิวซีแลนด์ (NZL)1023
10  เดนมาร์ก (DEN)0123
11  ไอร์แลนด์ (IRL)0112
12  ญี่ปุ่น (JPN)0101
  ยูเครน (UKR)0101
  สเปน (ESP)0101
15  เบลเยียม (BEL)0022
16  สหรัฐ (USA)0011
  โปแลนด์ (POL)*0011
รวม (17 ประเทศ)20202060

อ้างอิง แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้