จักรพรรดิบาบูร์

ซาฮีร์-อุด-ดิน มูฮัมมัด บาบูร์ หรือนิยมเรียกพระนามว่า จักรพรรดิบาบูร์ (เปอร์เซีย: نصیر الدین محمد همایون, อังกฤษ: Zahir-ud-din Muhammad Babur, พระบรมราชสมภพ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1483 - เสด็จสวรรคต 26 ธันวาคม ค.ศ. 1530) ทรงเป็นนักรบจากเอเชียกลางซึ่งมีชัยชนะและสถาปนาราชวงศ์โมกุลขึ้นบริเวณอนุทวีปอินเดีย และสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิบาบูร์ แห่งจักรวรรดิโมกุล ทรงเป็นทายาทโดยตรงจากตีมูร์ผ่านทางพระราชบิดา และยังมีเชื้อสายของเจงกีส ข่านผ่านทางพระราชมารดา พระองค์เป็นผู้ที่นำอิทธิพลและวัฒนธรรมเปอร์เซียเข้าไปเผยแพร่ในอาณาจักรของพระองค์ ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของการขยายอาณาจักรของโมกุลในเวลาต่อมา[1][2]

จักรพรรดิบาบูร์
รัชสมัย30 เมษายน ค.ศ. 1526 - 26 ธันวาคม ค.ศ. 1530
ราชาภิเษก30 เมษายน ค.ศ. 1526, เมืองอัครา
รัชกาลถัดไปสมเด็จพระจักรพรรดิหุมายุน
ประสูติ14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1483
เมืองอันดิจาน, อุซเบกิสถาน
สวรรคต26 ธันวาคม ค.ศ. 1530
เมืองอัครา
พระอัครมเหสีอัยชา ซุลตาน เบกุม
เซย์นับ ซุลตาน เบกุม
มาฮาม เบกุม
ดิลดาร์ เบกุม
กุลนาร์ อคาชา
กุลรุกข์ เบกุม
มูบาริกา ยูเซฟซาย
พระราชบุตรหุมายุน
คัมราน มีร์ซา
ฮินดัล มีร์ซา
ฟาห์-อุน-นิสซา
กุลบาดัน เบกุม
กุลเชห์รา เบกุม
อัลตุน บิชีค
ซาฮีร์-อุด-ดิน มูฮัมมัด บาบูร์
ราชวงศ์ตีมูร์
พระบรมราชชนกอุมาร์ ชีค มีร์ซาที่ 2, อามีร์แห่งฟาร์คานา
พระบรมราชชนนีคุตลุกห์ นิการ์ คานุม

อ้างอิง แก้

  1. F. Lehmann: Ẓahīr-al-Dīn Moḥammad Bābor. In Encyclopaedia Iranica. Online Ed. December 1988 (updated August 2011). "BĀBOR, ẒAHĪR-AL-DĪN MOḤAMMAD (6 Moḥarram 886-6 Jomādā I 937/14 February 1483-26 December 1530), Timurid prince, military genius, and literary craftsman who escaped the bloody political arena of his Central Asian birthplace to found the Mughal Empire in India. His origin, milieu, training, and education were steeped in Persian culture and so Bābor was largely responsible for the fostering of this culture by his descendants, the Mughals of India, and for the expansion of Persian cultural influence in the Indian subcontinent, with brilliant literary, artistic, and historiographical results."
  2. Robert L. Canfield, Robert L. (1991). Turko-Persia in historical perspective, Cambridge University Press, p.20. "The Mughals-Persianized Turks who invaded from Central Asia and claimed descent from both Timur and Genghis – strengthened the Persianate culture of Muslim India".
  •   Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). "Baber" . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์.
  • Mirza Muhammad Haidar Dughlat Ta'rikh-e Rashidi Trans. & Ed. Elias & Denison Ross (London) 1898.
  • Cambridge History of India, Vol. III & IV, "Turks and Afghan" and "The Mughal Period". (Cambridge) 1928
  • Muzaffar Alam & Sanjay Subrahmanyan (Eds.) The Mughal State 1526–1750 (Delhi) 1998
  • William Irvine The army of the Indian Moghuls. (London) 1902. (Last revised 1985)
  • Bamber Gascoigne The Great Moghuls (London) 1971. (Last revised 1987)
  • Jos Gommans Mughal Warfare (London) 2002
  • Peter Jackson The Delhi Sultanate. A Political and Military History (Cambridge) 1999
  • John F. Richards The Mughal Empire (Cambridge) 1993
  • Eraly, Abraham. Emperors of the Peacock throne, Penguin, 2000. ISBN 0-14-100143-7.
  • Gordon, Stewart. When Asia was the World: Traveling Merchants, Scholars, Warriors, and Monks who created the "Riches of the East" Da Capo Press, Perseus Books, 2008. ISBN 0-306-81556-7.


ก่อนหน้า จักรพรรดิบาบูร์ ถัดไป
-    
จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมกุล
(30 เมษายน ค.ศ. 1526 - 26 ธันวาคม ค.ศ. 1530)
  สมเด็จพระจักรพรรดิหุมายุน