คิ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า き มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 幾 และคะตะกะนะเขียนว่า キ มีที่มาจากการดัดแปลงตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 幾 ออกเสียงว่า เกี่ยวกับเสียงนี้ [ki] เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า เกี่ยวกับเสียงนี้ [gi] ในพยางค์แรก และแปรเสียงอยู่ระหว่าง [ŋi] กับ [ɣi] ในพยางค์อื่น


ฮิรางานะ

คาตากานะ
การถอดอักษร ki
+ดากูเต็ง gi
+ฮันดากูเต็ง (ngi)
มังโยงานะ
ของฮิรางานะ
มังโยงานะ
ของคาตากานะ
รหัสเรียกขาน 切手のキ
(คิตเตะ โนะ คิ)
รหัสมอร์ส -・-・・
อักษรเบรลล์ ⠣
ยูนิโคด U+304D, U+30AD
คะนะ
อึง วะ ระ ยะ มะ ฮะ นะ ทะ ซะ คะ อะ
วิ ริ มิ ฮิ นิ ชิ ชิ คิ อิ
รุ ยุ มุ ฟุ นุ สึ ซุ คุ อุ
เวะ เระ เมะ เฮะ เนะ เทะ เซะ เคะ เอะ
โวะ โระ โยะ โมะ โฮะ โนะ โทะ โซะ โคะ โอะ
เคะตัวเล็ก · สึตัวเล็ก · โยะริ · โคะโตะ
ดะกุเต็ง · ฮันดะกุเต็ง · โชอมปุ

き เป็นอักษรลำดับที่ 7 อยู่ระหว่าง か (คะ) กับ く (คุ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ き เป็นอักษรลำดับที่ 38 อยู่ระหว่าง さ (ซะ) กับ ゆ (ยุ)

รูปแบบ โรมะจิ ฮิระงะนะ คะตะกะนะ เสียงอ่าน รูปแบบ โรมะจิ ฮิระงะนะ คะตะกะนะ เสียงอ่าน รูปแบบ โรมะจิ ฮิระงะนะ คะตะกะนะ เสียงอ่าน
ธรรมดา ki คิ-กิ ธรรมดา
+ดะกุเต็ง
gi กิ-งิ ธรรมดา
+ฮันดะกุเต็ง
(ngi) き゚ キ゚ งิ
きい, きぃ
きー, き~
キイ, キィ
キー, キ~
คี-กี ぎい, ぎぃ
ぎー, ぎ~
ギイ, ギィ
ギー, ギ~
กี-งี (ngī) き゚い, き゚ぃ
き゚ー, き゚~
キ゚イ, キ゚ィ
キ゚ー, キ゚~
งี
ทวิอักษร kya きゃ キャ เคียะ-เกียะ ทวิอักษร
+ดะกุเต็ง
gya ぎゃ ギャ เกียะ-เงียะ ทวิอักษร
+ฮันดะกุเต็ง
(ngya) き゚ゃ キ゚ャ เงียะ
kyu きゅ キュ คิว-กิว gyu ぎゅ ギュ กิว-งิว (ngyu) き゚ゅ キ゚ュ งิว
kye きぇ キェ คฺเยะ-กฺเยะ gye ぎぇ ギェ กฺเยะ-งฺเยะ (ngye) き゚ぇ キ゚ェ งฺเยะ
kyo きょ キョ เคียว-เกียว gyo ぎょ ギョ เกียว-เงียว (ngyo) き゚ょ キ゚ョ เงียว

อักษรแบบอื่น แก้

ข้อความภาษาญี่ปุ่นทั่วไปไม่เติมฮันดะกุเต็งบนคิ แต่อาจนักภาษาศาสตร์อาจเติมฮันดะกุเต็งบนคิ き゚, キ゚ เพื่อแสดงเสียง [ŋi]

อักขระ ยูนิโคด จิส เอกซ์ 0213[1] ความหมาย
U+304D 1-4-13 ฮิระงะนะ คิ
U+304E 1-4-14 ฮิระงะนะ กิ
き゚ U+304D U+309A 1-4-88 ฮิระงะนะ งิ
U+30AD 1-5-13 คะตะกะนะ คิ
U+30AE 1-5-14 คะตะกะนะ กิ
キ゚ U+30AD U+309A 1-5-88 คะตะกะนะ งิ
U+32D6 1-12-65 คะตะกะนะ คิ ในวงกลม
U+FF77 ไม่มี คะตะกะนะ คิ ครึ่งความกว้าง

ลำดับขีด แก้

 
ลำดับขีดในการเขียน き
 
ลำดับขีดในการเขียน キ

ฮิระงะนะ き มีลำดับขีด 3 หรือ 4 ขีดดังนี้

  1. ขีดเส้นนอนเฉียงขึ้นเล็กน้อยจากซ้ายไปขวา ในตำแหน่งกึ่งบน
  2. ขีดเส้นนอนเฉียงขึ้นเล็กน้อยจากซ้ายไปขวา ในตำแหน่งกลาง
  3. ขีดเส้นเฉียงลงด้านขวาตัดกับสองเส้นแรก แล้วตวัดไปทางซ้าย
  4. ขีดเส้นโค้งหงายด้านล่างจากซ้ายไปขวา (เป็นการเขียนด้วยลายมือ ส่วนในงานพิมพ์ มักจะเชื่อมกับเส้นที่สาม)

คะตะกะนะ キ มีลำดับขีด 3 ขีดดังนี้

  1. ขีดเส้นนอนเฉียงขึ้นเล็กน้อยจากซ้ายไปขวา ในตำแหน่งกึ่งบน
  2. ขีดเส้นนอนเฉียงขึ้นเล็กน้อยจากซ้ายไปขวา ในตำแหน่งกลาง
  3. ขีดเส้นเฉียงลงด้านขวาตัดกับสองเส้นแรก

คันจิ แก้

ตัวอย่างคันจิที่อ่านว่าคิ และขึ้นต้นด้วยคิ มีดังนี้

企 伎 危 喜 器 基 奇 嬉 寄 岐 希 幾 忌 揮 机 旗 既 期 棋 棄
機 帰 毅 気 汽 畿 祈 季 稀 紀 徽 規 記 貴 起 軌 輝 飢 騎 鬼
亀 偽 儀 妓 宜 戯 技 擬 欺 犠 疑 祇 義 蟻 誼 議 掬 菊 鞠 吉
吃 喫 桔 橘 詰 砧 杵 黍 却 客 脚 虐 逆 丘 久 仇 休 及 吸 宮
弓 急 救 朽 求 汲 泣 灸 球 究 窮 笈 級 糾 給 旧 牛 去 居 巨

อ้างอิง แก้