คริสต์สหัสวรรษที่ 3

สหัสวรรษ

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2001 และจะจบลงในวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 3000 ตามปฏิทินเกรกอเรียน[1][2] นี่เป็นสหัสวรรษที่ 3 ของทั้งคริสต์ศักราชและสากลศักราช[2][3]

อารยธรรม แก้

อารยธรรมในคริสต์สหัสวรรษที่ 3
แอฟริกา อเมริกา เอเชีย ยุโรป โอเชียเนีย

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แก้

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในคริสต์สหัสวรรษที่ 3
  แอฟริกา อเมริกา เอเชีย ยุโรป โอเชียเนีย ทั่วโลก
คริสต์ศตวรรษที่ 21 2010 อาหรับสปริง[4] 2001 วินาศกรรม 11 กันยายน[5]
2013 เหตุระเบิดในบอสตันมาราธอน[6][7]
2014 การบุกยิงในอาคารรัฐสภาแคนาดา[8][9]
2011 ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ
2014 การหายไปของมาเลเซียแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 370
2015 เหตุการณ์เหยียบกันระหว่างพิธีฮัจจ์ในมินา
2005 เหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม[10]
2014 การผนวกไครเมียของรัสเซีย
2015 เหตุโจมตีในปารีส ประเทศฝรั่งเศส

2016 เหตุระเบิดในบรัสเซลส์

2013 ไฟป่าในแทสมาเนีย[11] 2019 - 2020 การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา พ.ศ. 2562–2563

เหตุการณ์ที่คาดการณ์ไว้ แก้

คปซูลกาลเวลา แก้

  • 27 เมษายน 2109 – แคปซูลกาลเวลา ที่อยู่ใต้พื้นอาคาร Old Queens ที่มหาวิทยาลัย Rutgers ในรัฐ New Jersey ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ถูกฝังในวันที่ 27 เมษายน 2009 ถูกกำหนดให้เปิด[12]
  • ค.ศ.2968 - อนุสาวรีย์ Helium Centennial Time Columnsใน Amarillo รัฐ Texas มีแคปซูลกาลเวลาสี่อันแยกกัน อันสุดท้ายถูกตั้งใจว่าจะเปิด 1000 ปีหลังจาก อนุสาวรีย์ Time Columns ถูกล็อคในปี ค.ศ.1968

เหตุการณ์ทางดาราศาสตร์ แก้

  • 12 สิงหาคม 2045 - สุริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา จากแคลิฟอร์เนียถึงฟลอริด้า บางส่วนของฟลอริด้าจะได้สัมผัสกับสุริยุปราคาเต็มดวงทั้งสิ้นหกนาทีที่ยาวที่สุดในประวัติศาสตร์ของสหรัฐ 
  • 11 พฤศจิกายน 2069 - ดาวพุธผ่านหน้าดวงอาทิตย์
  • 27 ตุลาคม 208​​8 - ดาวพุธบังดาวพฤหัสบดี เป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ ค.ศ.1708 แต่ใกล้กับดวงอาทิตย์มากและไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า 
  • 23 กันยายน 2090 - สุริยุปราคาเต็มดวงในสหราชอาณาจักร สุริยุปราคาเต็มดวงที่มองเห็นได้ในสหราชอาณาจักร ครั้งต่อจากสุริยุปราคาเต็มดวงที่คล้ายกันเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม ค.ศ.1999 แต่ขยับตัวไปทางเหนือเล็กน้อยและเกิดขึ้นใกล้พระอาทิตย์ตก ระยะเวลาสูงสุดที่จะเห็นใน Cornwall จะเป็น 2 นาทีและ 10 วินาที ในวันและเดือนเดียวกับสุริยุปราคาเมื่อวันที่ 23 กันยายน ค.ศ.1699 
  • 7 เมษายน 2094 - ดาวพุธบังดาวพฤหัสบดี แต่ใกล้กับดวงอาทิตย์มากและไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
  • 11 ธันวาคม 2117 - ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์[13]
  • 14 กันยายน 2123 - 15:28 UTC ดาวศุกร์บังดาวพฤหัสบดี [14]
  • 8 ธันวาคม 2125 - ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์[15]
  • 29 กรกฎาคม 2126 - 16:08 UTC ดาวพุธบังดาวอังคาร [16]
  • 3 ธันวาคม 2133 - 14:14 UTC ดาวพุธบังดาวศุกร์
  • 2 กันยายน 2197 - ดาวศุกร์บังดาว Spica (ครั้งล่าสุดเกิดเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ.1783)
  • 24 ธันวาคม 2197 - ดวงจันทร์ของโลกจะบังดาวเนปจูน 
  • 2209 และ 2284 - ดาวหางฮัลเลย์ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
  • 27 พฤษภาคม 2221 - ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลก (285,263) 1998 QE2 จะผ่านโลกในระยะห่าง 0.038 AU (5,700,000 กิโลเมตร; 3,500,000 ไมล์) จากโลก[17]
  • 2221 - Triple conjunction ของดาวอังคารและดาวเสาร์ 
  • 2 ธันวาคม 2223 - 00:32 UTC ดาวอังคารบังดาวพฤหัสบดี 
  • 2238/39 - Triple conjunction ของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ (ซึ่ง Triple conjunction ครั้งสุดท้ายคือในปี ค.ศ. 1981) 
  • 12 สิงหาคม 2243 - 04:52 UTC ดาวศุกร์บังดาวเสาร์
  • 11 มิถุนายน 2247 - ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
  • 4 มีนาคม 2251 - 10:52 UTC ดาวศุกร์จะบังดาวยูเรนัส 
  • 2252 - ดาวเคราะห์น้อย Orcus จะโคจรรอบดวงอาทิตย์ครบ 1 รอบ นับตั้งแต่การค้นพบในปี ค.ศ. 2004 ตามการวัดวงโคจรในปัจจุบันได้คาบการโคจรคือ 248 ปี
  • 1 สิงหาคม 2253 - ดาวพุธบังดาว Regulus (ครั้งล่าสุดของเรกูลัสเกิดเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 364 ปีก่อนค.ศ.) 
  • 9 มิถุนายน 2255 - ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
  • 2256-2258 - Eris จะใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่การค้นพบ 
  • 6 ตุลาคม 2271 - Close conjunction ระหว่างดาวศุกร์และดาว Regulus อาจจะมีการบัง Regulus โดยดาวศุกร์ 
  • 2279 - Triple conjunction ของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ 
  • 2281/82 - Grand Trine ของดาวยูเรนัส,ดาวเนปจูนและดาวพลูโต ครั้งสุดท้ายเกิดขึ้นในปี 1769 และ 1770 
  • วันอาทิตย์, 28 สิงหาคม 2287 - ดาวอังคารและโลกอยู่ใกล้กันมากที่สุดตั้งแต่วันพุธที่ 27 สิงหาคม 2003 
  • 2288 - ดาวเคราะห์น้อย Quaoar จะได้โคจรรอบดวงอาทิตย์ครบหนึ่งรอบตั้งแต่การค้นพบในปี 2002 ตามการวัดการโคจรในปัจจุบันที่มีคาบการโคจรเป็น 286 ปี
  • 11 กันยายน 2307 - 22:50 UTC ดาวศุกร์บังดาวยูเรนัส 
  • 2313 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี 
  • 2319 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวเสาร์ 
  • 4 มิถุนายน 2327 - 00:54 UTC ดาวศุกร์บังดาวอังคาร
  • 8 ตุลาคม 2335 - 14:51 UTC ดาวศุกร์บังดาวพฤหัสบดี
  • 7 เมษายน 2351 - 17:22 UTC ดาวพุธบังดาวยูเรนัส
  • 13 ธันวาคม 2360 - ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
  • 2365 - ดาวหางฮัลเลย์ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
  • 10 ธันวาคม 2368 - ดาวศุกร์ ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
  • 2388 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวเสาร์ 
  • 11 พฤษภาคม 2391 - ดาวพุธผ่านหน้าดวงอาทิตย์เป็นบางส่วน
  • 17 พฤศจิกายน 2400 - ดาวศุกร์บังดาว Antares (ครั้งสุดท้ายเกิดเมื่อวันที่ 17 กันยายน 525 ปีก่อนค.ศ.) 
  • 30 ธันวาคม 2419 - 01:38 UTC ดาวศุกร์จะบังดาวยูเรนัส 
  • 2426 - วงโคจรของดาวพลูโตที่สองตั้งแต่การค้นพบ 
  • 2456 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี 
  • 29 สิงหาคม 2478 - 23:11 UTC ดาวอังคารบังดาวพฤหัสบดี
  • 12 มิถุนายน 2490 - ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
  • 6 พฤษภาคม 2492 - Jean Meeus นักดาราศาสตร์ชาวเบลเยี่ยม ยืนยันว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ทั้งแปดและดาวพลูโตจะอยู่ภายในส่วนโค้ง 90 ° ของระบบสุริยะ ครั้งสุดท้ายนี้เชื่อว่าเกิดขึ้นในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ.949 [18]
  • 10 มิถุนายน 2498 - ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
  • 5 พฤษภาคม 2600 - สุริยุปราคาเต็มดวงครั้งแรก[19]ที่มองเห็นได้จากลอนดอน นับตั้งแต่ปี 2151[20] ความกว้างของเส้นทางของมันถูกคาดการณ์ว่าจะกว้างเป็นพิเศษที่ความกว้างสูงสุด
  • 7 เมษายน 2515 - 10:37 UTC ดาวอังคารบังดาวเนปจูน[21]
  • 25 มกราคม 2518 - 22:41 UTC ดาวศุกร์บังดาวเสาร์[21]
  • 2562 - ดาวเคราะห์แคระ Eris จะได้โคจรรอบดวงอาทิตย์ครบหนึ่งรอบ นับตั้งแต่การค้นพบในปี 2005 
  • 2599 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี 
  • 16 ธันวาคม 2603 - ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
  • 13 พฤษภาคม 2608 - ดาวพุธเฉียดผ่านหน้าดวงอาทิตย์
  • 13 ธันวาคม 2611 - ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์บางส่วน
  • 2626/27 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวเสาร์ 
  • 2629 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวเสาร์ 
  • 16 กุมภาพันธ์ 2649 - 11:17 UTC ดาวศุกร์บังดาวเนปจูน 
  • 3 กันยายน 2650 - ระยะห่างระหว่างดาวอังคารและโลกจะมาถึงจุดที่น้อยที่สุดครั้งใหม่คือ 55,651,582,118 กม. มันเป็นการใกล้กันมากกว่าก่อนหน้านี้เล็กน้อย ก่อนหน้านี้คือวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ.2287[22] การใกล้กันมากกว่าเดิมจะเกิดขึ้นอีกในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ.2729 
  • 2655/56 - Triple conjunction ของดาวพฤหัสบดีกับดาวเสาร์ 
  • 2663 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวเสาร์ 
  • 269​​9/2700 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี, ดาวอังคารกับดาวเนปจูน และดาวพฤหัสบดีกับดาวเนปจูน 
  • 24 ตุลาคม 2714 - ดาวพฤหัสบดีผ่านหน้าดวงอาทิตย์ที่เห็นได้จากดาวยูเรนัส ครั้งแรกในรอบ 800 ปี นับตั้งแต่วันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ.1914 
  • 8 กันยายน 2729 - ระยะห่างระหว่างดาวอังคารและโลกจะมาถึงจุดที่น้อยที่สุดครั้งใหม่คือ 55,651,033,122 กม. มันจะเป็นใกล้กันมากกว่าก่อนหน้านี้เล็กน้อย ก่อนหน้านี้คือวันที่ 8 กันยายน 2650 [23]
  • 15 มิถุนายน 2733 - ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
  • 13 มิถุนายน 2741 - ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ 
  • 2742 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี 
  • 2744 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี 
  • 2761 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวเสาร์ 
  • 3 ธันวาคม 2781 - 06:45 UTC ดาวศุกร์จะบังดาวเนปจูน 
  • 2791 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี 
  • 2794/95 - Triple conjunction ของดาวพฤหัสบดีกับดาวเสาร์ 
  • ศตวรรษที่ 29 - เศษดาวหาง Ikeya-Seki คาดว่าจะกลับไปภายในระบบสุริยะชั้นใน มันเห็นจากโลกครั้งสุดท้ายใน ค.ศ.1965-1966 และแตกเป็นสามส่วนระหว่างที่มันเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ 
  • 25 มีนาคม 2816 - 15:47 UTC ดาวพุธบังดาวพฤหัสบดี
  • 6 มีนาคม 2817 - 09:36 UTC ดาวศุกร์บังดาวเสาร์
  • 11 เมษายน 2818 - 20:41 UTC ดาวพุธบังดาวอังคาร
  • 6 กุมภาพันธ์ 2825 - 10:50 UTC ดาวอังคารบังดาวยูเรนัส 
  • 2829/30 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวเสาร์ 
  • 15 ธันวาคม 2830 - 09:40 UTC ดาวศุกร์บังดาวอังคาร
  • 2842/43 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี 
  • 16 ธันวาคม 2846 - ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
  • 14 ธันวาคม 2854 - ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์บางส่วน
  • 20 กรกฎาคม 2855 - 05:15 UTC ดาวพุธบังดาวพฤหัสบดี
  • 2866 - Triple conjunction ของดาวอังคารกับดาวเสาร์ 
  • 16 มีนาคม 2880 - ดาวเคราะห์น้อย (29075) 1950 DA ถูกคาดการณ์ว่าจะพุ่งชนโลกดาวเคราะห์น้อยนี้เป็นวัตถุใกล้โลกที่มีความน่าจะเป็นในการพุ่งชนโลกสูงสุดเท่าที่รู้จัก

เหตุการณ์ทางชีววิทยา แก้

  • ค.ศ.2099 - ตามการศึกษาหนึ่ง 83% ของป่าอเมซอน อาจจะถูกทำลาย[24]
  • ภายในปี 2100(พ.ศ.2643), 12% (ประมาณ 1,250ของสายพันธุ์นก) ที่มีอยู่เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 จะสูญพันธุ์ไปหรือเสี่ยงต่อการสูญพันธ์.[25]
  • ภายใน ค.ศ.2100 เพนกวินจักรพรรดิจะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์อย่างมาก เนื่องจากสภาพอากาศโลกที่เปลี่ยนแปลง ตามการศึกษาของ Woods Hole Oceanographic Institution เมื่อเดือนมกราคมปี ค.ศ. 2009 การศึกษาใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์คาดการณ์ว่าการละลายของน้ำแข็งเนื่องมาจากสภาพอากาศที่ร้อนขึ้นจะมีผลกระทบต่อเพนกวินจักรพรรดิในแอนตาร์กติกาอย่างไร และพวกเขาพยากรณ์การลดลง 87% ของฝูงเพนกวินจักรพรรดิ ภายในสิ้นคริสต์ศตวรรษนี้[26]

การคาดการณ์ทางเทคโนโลยี แก้

  • ลิฟต์อวกาศเสร็จสมบูรณ์ภายใน ค.ศ.2050[27]
  • มีการเดินทางทางอากาศที่มีความเร็วเหนือเสียงทางด้านการค้าภายใน ค.ศ.2050[28]
  • พลังงานของเดนมาร์กจะถูกจัดหามาโดยพลังงานทดแทนอย่างเดียวใน ค.ศ.2050[29]
  • การรื้อถอนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Oldbury ที่อยู่ใกล้กับ Thornbury, South Gloucestershire, ประเทศอังกฤษ ซึ่งมีการรื้อถอนนิวเคลียร์ ในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2012 ถูกกำหนดให้เสร็จระหว่าง ค.ศ.2092 และ 2101.[30]
  • ตามสารคดีช่อง Discovery Channel เรื่อง Extreme Engineering Shimizu Mega-City Pyramid ของญี่ปุ่นจะเสร็จภายในปี ค.ศ.2110.[31][32]
  • การศึกษาปัญญาประดิษฐ์เป็นเวลา 100 ปี (AI100) ที่ถูกเริ่มต้นโดย มหาวิทยาลัย Stanford จะได้ข้อสรุปใน ค.ศ.2115.[33][34][35]
  • ค.ศ.2162 (พ.ศ.2705) หรือหลังจากนั้น: ดาวเทียม Envisat, ที่ถูกประกาศว่า "พัง" ในปี 2555(ค.ศ.2012) จะถูกทำลายวงโคจรและเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศ[36]
  • ภายใน ค.ศ.2200 โลกจะเข้าสู่อารยธรรมประเภทที่ 1 ตามสเกลของ Kardashev ตามการคาดการณ์ของ Nikolai Kardashev ว่ามีอัตราการเพิ่มของการใช้พลังงาน 1% ต่อปี[37]

เหตุการณ์ทางสังคม แก้

  • ตามการคาดการณ์เมื่อเดือน ธันวาคม 2552 สำนักสำมะโนประชากรของสหรัฐอเมริกาคาดการณ์ว่าประชากรโลกจะถึง 8.4 พันล้านคนภายในปี ค.ศ.2030[38]
  • นักประชากรศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Emmanuel Todd คาดการณ์ว่าอัตราการรู้หนังสือของประชากรโลกใกล้จะถึง 100% ภายในปี ค.ศ.2030[39]
  • นักวิทยาศาสตร์ด้านผู้สูงอายุ Aubrey De Grey คาดการณ์ว่ามีโอกาส 50/50 ที่จะรักษาความแก่ได้ ภายในประมาณปี ค.ศ.2036[40]
  • ประชากรโลกจะถึง 9.3 พันล้านคนภายในปี ค.ศ.2050 ตามการคาดการณ์ของฝ่ายประชากรของสหประชาชาติ[41]
  • นักประชากรศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Emmanuel Todd คาดการณ์ว่าอัตราการเกิดของประชากรโลกจะเป็นศูนย์ภายในปี ค.ศ.2050.[42]
  • สหราชอาณาจักรจะมีประชากรมากสุดในยุโรปภายในปี ค.ศ.2050 และเป็นประเทศที่รับผู้อพยพมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก ตามการคาดการณ์ของ UN[43]
  • ทศวรรษ 2050s - จีน, สหรัฐอเมริกา, อินเดีย, บราซิล และ เม็กซิโก จะมีเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตามการศึกษาของ Goldman Sachs[44]
  • ค.ศ.2160 – นักวิทยาศาสตร์บางคนเชื่อว่าเด็กที่เกิดในปี ค.ศ.2010 อาจจะมีชีวิตอยู่ในปี ค.ศ.2160.[45]
  • ตามการคาดการณ์ของสำนักประชากรของสหประชาชาติ อายุขัยเฉลี่ยในปี ค.ศ.2200 จะอยู่ที่ประมาณ 100 ปี สำหรับประเทศที่พัฒนาแล้ว และประชากรโลกจะอยู่ที่ 8.5 พันล้าน อย่างไรก็ตาม UN เตือนว่าการคาดการณ์นี้อาจใช้การไม่ได้เพราะการเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการค้นพบการยืดอายุขัยในอนาคต รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดในอนาคต[46]
  • ศตวรรษที่ 22 - ในหนังสือ 100 ปีข้างหน้า ของนักรัฐศาสตร์ชาวอเมริกัน George Friedman คาดการณ์ว่าเมื่อศตวรรษนี้เริ่มขึ้น การเผชิญหน้ากันระหว่างประเทศมหาอำนาจ เม็กซิโกกับสหรัฐอเมริกา จะเกิดขึ้น เม็กซิโกจะเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจและการทหารที่สามารถท้าทายกับสหรัฐอเมริกาได้ ในขณะที่ประชากรเม็กซิกันในพื้นที่ทางใต้ของสหรัฐอเมริกาจะทำให้มีการขยายอาณาเขตของเม็กซิโก(ในทางปฏิบัติ) จากการที่ความคิดของการแบ่งแยกดินแดนมีมากขึ้น ทั้งสองประเทศจะแข่งขันกันเพื่อที่จะมีอิทธิพลเหนือทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งจะเป็นจุดศูนย์ถ่วงของโลกตลอดสองสามศตวรรษถัดไป[47]
  • ค.ศ.2250 - ตามทฤษฎีของนักประวัติศาสตร์ Max Ostrovsky[48] รัฐโลก (World State) ปรากฏขึ้นหลังจากเกิดสงครามโลกอย่างน้อยหนึ่งครั้ง

บุคคลที่มีนัยสำคัญ แก้

บุคคลที่มีนัยสำคัญในคริสต์สหัสวรรษที่ 3
  แอฟริกา อเมริกา เอเชีย ยุโรป โอเชียเนีย
คริสต์ศตวรรษที่ 21 Muammar Gaddafi
Hosni Mubarak
Desmond Tutu
George W. Bush
Barack Obama
Bill Gates
Mark Zuckerberg
Elon Musk
Osama bin Laden
Hu Jintao
Narendra Modi
Rahul "pappu" Gandhi
Salman of Saudi Arabia
Kim Jong-un
Recep Tayyip Erdoğan
Elizabeth II
Vladimir Putin
Pope Francis
Mario Draghi
Angela Merkel
Julia Gillard

สิ่งประดิษฐ์และการค้นพบ แก้

สิ่งประดิษฐ์และการค้นพบ
การสื่อสารและเทคโนโลยี คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การผลิต การขนส่งและ
การสำรวจอวกาศ
การสงคราม
  1. iOS
  2. Android
  1. X-ray astronomy[49]
  2. Poincaré conjecture[50]
  3. Higgs boson[51]
  4. การสังเกตเห็นคลื่นความโน้มถ่วงเป็นครั้งแรก[52]
  1. Graphene
  1. Mars Orbiter Mission[53]

ศตวรรษและทศวรรษ แก้

คริสต์ศตวรรษที่ 21 2000s[b][c] 2010s 2020s 2030s 2040s 2050s 2060s 2070s 2080s 2090s
คริสต์ศตวรรษที่ 22 2100s 2110s 2120s 2130s 2140s 2150s 2160s 2170s 2180s 2190s
คริสต์ศตวรรษที่ 23 2200s 2210s 2220s 2230s 2240s 2250s 2260s 2270s 2280s 2290s
คริสต์ศตวรรษที่ 24 2300s 2310s 2320s 2330s 2340s 2350s 2360s 2370s 2380s 2390s
คริสต์ศตวรรษที่ 25 2400s 2410s 2420s 2430s 2440s 2450s 2460s 2470s 2480s 2490s
คริสต์ศตวรรษที่ 26 2500s 2510s 2520s 2530s 2540s 2550s 2560s 2570s 2580s 2590s
คริสต์ศตวรรษที่ 27 2600s 2610s 2620s 2630s 2640s 2650s 2660s 2670s 2680s 2690s
คริสต์ศตวรรษที่ 28 2700s 2710s 2720s 2730s 2740s 2750s 2760s 2770s 2780s 2790s
คริสต์ศตวรรษที่ 29 2800s 2810s 2820s 2830s 2840s 2850s 2860s 2870s 2880s 2890s
คริสต์ศตวรรษที่ 30 2900s 2910s 2920s 2930s 2940s 2950s 2960s 2970s 2980s 2990s

หมายเหตุ แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 รัฐที่ได้รับการยอมรับจากบางประเทศเท่านั้น
  2. 2000 ถูกพิจารณาว่าเป็นปีสุดท้ายของคริสต์สหัสวรรษที่ 2 แต่มีการโต้แย้งในบางครั้ง
  3. 9 ปี ใน 10 ปีของคริสต์ทศวรรษนี้ อยู่ในคริสต์สหัสวรรษนี้

อ้างอิง แก้

  1. United States Naval Observatory, "The 21st Century and the 3rd Millennium:When Did They Begin?" เก็บถาวร 2019-10-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  2. 2.0 2.1 "When and where did the new Millennium officially start, and why? เก็บถาวร 2012-06-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน"
  3. Associated Press (2001-01-01). "Y2K It Wasn't, but It Was a Party". latimes.com. Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ 2015-10-15.
  4. The Arab Spring—One Year Later: The CenSEI Report analyzes how 2011's clamor for democratic reform met 2012's need to sustain its momentum. The CenSEI Report, 13 February 2012
  5. "How much did the September 11 terrorist attack cost America?". 2004. Institute for the Analysis of Global Security. สืบค้นเมื่อ 2014-04-30.
  6. "What we know about the Boston bombing and its aftermath". CNN. April 19, 2013. สืบค้นเมื่อ April 19, 2013.
  7. Kotz, Deborah (April 24, 2013). "Injury toll from Marathon bombs reduced to 264". The Boston Globe. สืบค้นเมื่อ April 29, 2013. Boston public health officials said Tuesday that they have revised downward their estimate of the number of people injured in the Marathon attacks, to 264.
  8. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-24. สืบค้นเมื่อ 2016-06-11.
  9. http://www.cbc.ca/news/politics/parliament-hill-attacked-soldier-shot-at-national-war-memorial-in-ottawa-1.2808710
  10. Bennetto, Jason; Ian Herbert (13 August 2005). "London bombings: the truth emerges". The Independent. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-03-06. สืบค้นเมื่อ 3 December 2006.
  11. "Fires rage across Tasmania". abc.net.au. Australian Broadcasting Corporation. 2013-01-04. สืบค้นเมื่อ 2015-10-25.
  12. Diduch, Mary (April 27, 2009). "U. celebrates Old Queens bicentennial". The Daily Targum. Rutgers University: College Media Network. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-01. สืบค้นเมื่อ June 16, 2009. At the ceremony, a time capsule was revealed containing several items from today to leave for the University in 2109, at the building’s tricentennial commemoration.
  13. HM Nautical Almanac Office: 2117 Transit of Venus เก็บถาวร 2017-04-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Astro.ukho.gov.uk (2011-05-03). Retrieved on 2014-01-19.
  14. Articles – Occultation – OPT Telescopes. Optcorp.com. Retrieved on 2014-01-19.
  15. HM Nautical Almanac Office: 2125 Transit of Venus เก็บถาวร 2011-08-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Astro.ukho.gov.uk (2011-05-03). Retrieved on 2014-01-19.
  16. "Occultation - Mutual planetary transits and occultations - Encyclopedia II". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-13. สืบค้นเมื่อ 2016-05-23.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  17. Dr. Lance A. M. Benner (May 28, 2013). "(285263) 1998 QE2 Goldstone Radar Observations Planning". NASA/JPL Asteroid Radar Research. สืบค้นเมื่อ 2013-05-30.
  18. Griffith Observatory
  19. "Solar eclipse of May 5, 2600". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-15. สืบค้นเมื่อ 2016-05-23.
  20. "Solar eclipse of June 14, 2151". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-16. สืบค้นเมื่อ 2016-05-23.
  21. 21.0 21.1 Mutual Planetary Transits; Fifteen millennium catalog; Period 2 001 AD - 3 000 AD
  22. [meteorite-list] Mars Makes Closest Approach In Nearly 60,000 Years, by Ron Baalke, on Friday August 22, 2003 at 09:04:54 -0700
  23. [meteorite-list] Mars Makes Closest Approach In Nearly 60,000 Years, par Ron Baalke, on Friday August 22, 2003 at 09:04:54 -0700
  24. "No rainforest, no monsoon: get ready for a warmer world". NewScientist.
  25. Pimm, Stuart; และคณะ (2006). "Human impacts on the rates of recent, present, and future bird extinctions". Proceedings of the National Academy of Sciences. 103 (29): 10941–10946. doi:10.1073/pnas.0604181103. PMC 1544153. PMID 16829570.
  26. Dunham, Will. "Melting Sea Ice May Doom Emperor Penguins, Study Finds". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ January 26, 2008.
  27. Rebecca Boyle (23 February 2012). "Japanese Construction Company Plans Space Elevator By 2050". Australian Popular Science. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-18. สืบค้นเมื่อ 29 February 2012.
  28. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-23. สืบค้นเมื่อ 2016-06-11.
  29. "Our future energy" (PDF). The Danish government. The Danish Ministry of Climate and Energy. November 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-06-23. สืบค้นเมื่อ 2012-04-26.
  30. Enoch, Nick (February 29, 2012). "World's oldest nuclear power station closes... but it will take 90 more years and £954m to clear it completely". Daily Mail. London. สืบค้นเมื่อ 29 February 2012.
  31. New Mega-City Challenge – Concept เก็บถาวร 2018-09-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Geekwidget (2010-03-29). Retrieved on 2014-01-19.
  32. city in pyramid ที่ยูทูบ
  33. "Stanford to host 100-year study on artificial intelligence". Stanford University. 16 December 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-12. สืบค้นเมื่อ 19 December 2014.
  34. "Study to Examine Effects of Artificial Intelligence". The New York Times. 15 December 2014. สืบค้นเมื่อ 19 December 2014.
  35. "One-Hundred Year Study of Artificial Intelligence: Reflections and Framing". Eric Horvitz. 2014. สืบค้นเมื่อ 19 December 2014.
  36. Wall, Mike (2012-05-11). "Dead Satellite Envisat May Be Space Junk for 150 Years". Huffington Post. Huffington Post. สืบค้นเมื่อ 2012-05-13.
  37. Kaku, Michio (April 26, 2004). "How Advanced Could They Be?". Astrobiology Magazine. สืบค้นเมื่อ January 7, 2010.
  38. "Total Midyear Population for the World: 1950-2050". U.S. Census Bureau. 2008-12-15. สืบค้นเมื่อ 2009-03-30.
  39. Todd, Emmanuel (2003). After the Empire: The Breakdown of the American Order. New York: Columbia University Press. ISBN 0-231-13102-X.
  40. Health and Science Correspondent Kate Kelland. "Who wants to live forever? Scientist sees aging cured". Reuters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-11-27. สืบค้นเมื่อ 2013-01-10.
  41. "World population to reach 9.1 billion in 2050, UN projects". UN News Center. 24 February 2005.
  42. Todd, Emmanuel (2003). After the Empire: The Breakdown of the American Order. New York: Columbia University Press. ISBN 0-231-13102-X.
  43. "Britain 'biggest in EU by 2050'". BBC News. 12 March 2009.
  44. Wilson, Dominic; Stupnytska, Anna (March 28, 2007). "The N-11: More Than an Acronym" (PDF). Global Economics Paper. 153. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-08-10. สืบค้นเมื่อ 2016-06-11. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  45. Laurance, Jeremy (2010-05-12). "Has the elixir of youth come of age?". The Independent. London: The Independent. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-15. สืบค้นเมื่อ 2010-05-15.
  46. World population in 2300. (PDF) . Retrieved on 2014-01-19.
  47. Friedman, George (2009) The Next 100 Years: A Forecast for the 21st Century, Anchor, ISBN 0767923057.
  48. Y = Arctg X: The Hyperbola of the World Order, (Lanham: University Press of America, 2007).
  49. "Chronology – Quarter 1 1949".
  50. Mackenzie, Dana (2006-12-22). "The Poincaré Conjecture--Proved". Science. American Association for the Advancement of Science. 314 (5807): 1848–1849. doi:10.1126/science.314.5807.1848. ISSN 0036-8075. PMID 17185565.
  51. "Higgs boson-like particle discovery claimed at LHC". BBC News. สืบค้นเมื่อ 6 October 2014.
  52. Castelvecchi, Davide; Witze, Witze (February 11, 2016). "Einstein's gravitational waves found at last". Nature News. doi:10.1038/nature.2016.19361. สืบค้นเมื่อ 2016-02-11.
  53. "India's Mars satellite successfully enters orbit, bringing country into space elite". The Guardian. 24 September 2014. สืบค้นเมื่อ 24 September 2014. India has become the first nation to send a satellite into orbit around Mars on its first attempt, and the first Asian nation to do so.