ขบวนรถชานเมือง (การรถไฟแห่งประเทศไทย)

ขบวนรถชานเมือง เป็นขบวนรถประเภทหนึ่งของการรถไฟแห่งประเทศไทย ให้บริการในสายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายใต้ และสายตะวันออก โดยถือเป็นระบบรถไฟชานเมืองในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รัศมีโดยรอบไม่เกิน 150 กิโลเมตร[ต้องการอ้างอิง] ขบวนรถชานเมืองจะจอดทุกสถานีและป้ายหยุดรถ รหัสเลขขบวนรถเป็นเลขสามหลัก ขึ้นต้นด้วยเลข 3 และ 4 และใช้ทางวิ่งร่วมกับรถไฟทางไกลและรถไฟสินค้า ทางส่วนใหญ่เป็นทางคู่

ขบวนรถชานเมือง
ป้ายหยุดรถไฟพระจอมเกล้า ให้บริการขบวนรถชานเมืองในสายตะวันออก
ป้ายหยุดรถไฟพระจอมเกล้า ให้บริการขบวนรถชานเมืองในสายตะวันออก
ข้อมูลทั่วไป
เจ้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ที่ตั้งไทย กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประเทศไทย
ประเภทรถไฟชานเมือง
จำนวนสาย4
การให้บริการ
ผู้ดำเนินงานการรถไฟแห่งประเทศไทย
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง703.57 กิโลเมตร
รางกว้าง1,000 mm (3 ft 3 38 in)
การจ่ายไฟฟ้าปัจจุบัน: ใช้รถดีเซลรางหรือรถจักรลากจูง
อนาคต: 25 kV AC จ่ายไฟเหนือหัว
ความเร็วสูงสุด100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

เส้นทางที่ให้บริการ แก้

เส้นทางที่ให้บริการ สถานีปลายทาง ระยะทาง ขนาดความกว้างรางรถไฟ จำนวนเที่ยวรถ (ไป-กลับ)
สายเหนือ กรุงเทพลพบุรี 132.81 กิโลเมตร 1,000 mm (3 ft 3 38 in) 14 ขบวน
สายตะวันออกเฉียงเหนือ กรุงเทพ-ชุมทางแก่งคอย 125.10 กิโลเมตร 6 ขบวน
สายตะวันออก กรุงเทพชุมทางฉะเชิงเทรา 121.78 กิโลเมตร 18 ขบวน
สายใต้ ธนบุรีนครปฐม–ธนบุรี 101.31 กิโลเมตร 12 ขบวน
กรุงเทพสุพรรณบุรี

ราชบุรี-ธนบุรี-ราชบุรี

ประจวบคีรีขันธ์-

ธนบุรี-ประจวบคีรีขันธ์

หลังสวน-ธนบุรี

หลังสวน

นำตก-ธนบุรี-นำตก

157.60 กิโลเมตร[1] 2 ขบวน
สายวงเวียนใหญ่ วงเวียนใหญ่-มหาชัย 33.1 กิโลเมตร 34 ขบวน
สายบ้านแหลม-แม่กลอง บ้านแหลม-แม่กลอง 33.8 กิโลเมตร 8 ขบวน

ขบวนรถที่ให้บริการในปัจจุบัน แก้

สายเหนือ แก้

รหัสขบวนรถ สถานีปลายทาง ลักษณะขบวนรถ วันที่ทำการเดินรถ เลขขบวนเที่ยวกลับ
301/302 กรุงเทพ–ลพบุรี-กรุงเทพ รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3 ทุกวัน 302
303/304 กรุงเทพ–ลพบุรี-กรุงเทพ รถดีเซลราง วันจันทร์-วันศุกร์ 304
311 กรุงเทพ–รังสิต- กรุงเทพ รถดีเซลราง วันธรรมดา 376 (รังสิต–หัวตะเข้ ผ่านสามเหลี่ยมจิตรลดา)
313/314 กรุงเทพ–ชุมทางบ้านภาชี รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3 วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) 314
317/318 กรุงเทพ–ลพบุรี-กรุงเทพ รถดีเซลราง วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) 318

สายตะวันออกเฉียงเหนือ แก้

รหัสขบวนรถ สถานีปลายทาง ลักษณะขบวนรถ วันที่ทำการเดินรถ เลขขบวนเที่ยวกลับ
339/340 กรุงเทพ–ชุมทางแก่งคอย-กรุงเทพ รถดีเซลราง วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) 340
341/342 ทุกวัน 342

สายตะวันออก แก้

รหัสขบวนรถ สถานีปลายทาง ลักษณะขบวนรถ วันที่ทำการเดินรถ เลขขบวนเที่ยวกลับ
367/368 กรุงเทพ–ชุมทางฉะเชิงเทรา-กรุงเทพ รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3 ทุกวัน 368
371/372 กรุงเทพ–ปราจีนบุรี-กรุงเทพ รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3

ขบวนนี้มีรถปรับอากาศชั้น3 (บชส.ป) || 372

376 รังสิต–หัวตะเข้-รังสิต รถดีเซลราง วันจันทร์-วันศุกร์ (ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ) 378
379/384 กรุงเทพ–ชุมทางฉะเชิงเทรา-กรุงเทพ รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3 ทุกวัน 384
383/380 รถดีเซลราง 380
389/390 รถดีเซลราง


ขบวนนี้มีรถปรับอากาศ (กซม.ป ATR)

390
391/388 รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3 388

สายใต้ แก้

รหัสขบวนรถ สถานีปลายทาง ลักษณะขบวนรถ วันที่ทำการเดินรถ เลขขบวนเที่ยวกลับ
351/352 ธนบุรี–ราชบุรี-ธนบุรี รถจักรลากจูงรถบชส.ชั้น3 ทุกวัน 352
355/356 กรุงเทพ–สุพรรณบุรี-กรุงเทพ รถดีเซลราง 356
1115/1116 ธนบุรี–นครปฐม-ธนบุรี รถดีเซลราง 1116
1117/1118 1118
1123/1124 1124
1129/1132 1132
251/252 ธนบุรี-ประจวบคีรีขันธ์-ธนบุรี รถจักรลากจูงรถบสช. ชั้น3 252
255/254 ธนบุรี-หลังสวน-ธนบุรี รถจักรลากจูงรถบสช. ชั้น3

สายวงเวียนใหญ่-มหาชัย/บ้านแหลม-แม่กลอง แก้

สายวงเวียนใหญ่-มหาชัย
รหัส

ขบวนรถ

สถานีปลายทาง ลักษณะขบวนรถ วันที่ทำการเดินรถ
4302/4303 มหาชัย-วงเวียนใหญ่-มหาชัย รถดีเซลราง ทุกวัน
4310/4311
4320/4321
4340/4341 (ป.)
4304/4305
4312/4313
4322/4223 (ป.)
4342/4343
4314/4315
4324/4325 (ป.)
4316/4317
4306/4307
4326/4327 (ป.)
4344/4345
4308/4309
4328/4329 (ป.)
4346/4347
หมายเหตุ: (ป.) คือ ขบวนนั้นมีตู้ปรับอากาศ
สายบ้านแหลม-แม่กลอง
รหัส

ขบวนรถ

สถานีปลายทาง ลักษณะขบวนรถ วันที่ทำการเดินรถ
4380/4381 แม่กลอง-บ้านแหลม-แม่กลอง รถดีเซลราง ทุกวัน
4382/4383
4384/4385
4386/4387

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. นับจากสถานีกรุงเทพ ให้บวกเพิ่มอีก 16

แหล่งข้อมูลอื่น แก้