กีฬาฮอกกี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาฮอกกี้ในโอลิมปิก (อังกฤษ: Hockey) กีฬาฮอกกี้ประเภทชายเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกีฬาโอลิมปิกตั้งแต่ปี 1908 ซึ่งผู้ที่ครองความเป็นจ้าวในกีฬาชนิดนี้คืออินเดียและปากีสถาน อย่างไรก็ตามทีมฮอกกี้จากนิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย อังกฤษ และเยอรมนี ก็ถือได้ว่าเป็นทีมที่ประสบความสำเร็จมากเช่นกัน

กีฬาฮอกกี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน
สัญลักษณ์กีฬาฮอกกี้
หน่วยงาน|เอฟไอเอช
รายการ2 (ชาย: 1; หญิง: 1)
การแข่งขัน

ส่วนประเภทหญิงนั้น เพิ่งมีการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี 1980 ที่กรุงมอสโคว์ ประเทศรัสเซีย ทีมฮอกกี้หญิงจากประเทศซิมบับเวก็เป็นทีมแรกที่ได้แชมป์ในการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก จากนั้นมาก็มีทีมจากเนเธอร์แลนด์ ออสเตรเลียและสเปน ได้รับเหรียญทองจากการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกครั้งต่อๆมา

ในระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา ทีมฮอกกี้จากออสเตรเลียสามารถครองความยิ่งใหญ่ในกีฬาชนิดนี้ โดยการคว้าเหรียญทองในโอลิมปิกที่โซล ประเทศเกาหลีใต้ ในปี 1988 และที่แอตแลนต้า สหรัฐอเมริกา ในปี 1996

กีฬาฮอกกี้โอลิมปิกฤดูร้อน 2012 มีชิงชัย 2 เหรียญทอง แบ่งเป็นทีมชายและทีมหญิง เริ่มแข่งขันวันที่ 29 กรกฎาคม ถึง 11 สิงหาคม 2555 สนามที่ใช้ในการแข่งขัน : Riverbank Arena นักกีฬาที่เข้าร่วมการแข่งขัน 24 ทีม จาก 15 ประเทศ

ชาย แก้

สรุป แก้

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงที่ 3
เหรียญทอง คะแนน เหรียญเงิน เหรียญทองแดง คะแนน อันดับ 4
1908
รายละเอียด
London  
บริเตนใหญ่

(England)
8–1  
บริเตนใหญ่
(Ireland)
 
บริเตนใหญ่
(Scotland)
 
บริเตนใหญ่
(Wales)
[1]
1912 Stockholm No hockey tournament No hockey tournament
1920
รายละเอียด
Antwerp  
บริเตนใหญ่
[a]  
เดนมาร์ก
 
เบลเยียม
[a]  
ฝรั่งเศส
1924 Paris No hockey tournament No hockey tournament
1928
รายละเอียด
Amsterdam  
อินเดีย
3–0  
เนเธอร์แลนด์
 
เยอรมนี
3–0  
เบลเยียม
1932
รายละเอียด
Los Angeles  
อินเดีย
[2]  
ญี่ปุ่น
 
สหรัฐ
[2]
1936
รายละเอียด
Berlin  
อินเดีย
8–1  
เยอรมนี
 
เนเธอร์แลนด์
4–3  
ฝรั่งเศส
1948
รายละเอียด
London  
อินเดีย
4–0  
บริเตนใหญ่
 
เนเธอร์แลนด์
1–1
(4–1)
Penalty strokes
 
ปากีสถาน
1952
รายละเอียด
Helsinki  
อินเดีย
6–1  
เนเธอร์แลนด์
 
บริเตนใหญ่
2–1  
ปากีสถาน
1956
รายละเอียด
Melbourne  
อินเดีย
1–0  
ปากีสถาน
 
Unified Team of Germany[3]
3–1  
บริเตนใหญ่
1960
รายละเอียด
Rome  
ปากีสถาน
1–0  
อินเดีย
 
สเปน
2–1  
บริเตนใหญ่
1964
รายละเอียด
Tokyo  
อินเดีย
1–0  
ปากีสถาน
 
ออสเตรเลีย
3–2
after extra time
 
สเปน
1968
รายละเอียด
Mexico City  
ปากีสถาน
2–1  
ออสเตรเลีย
 
อินเดีย
2–1  
เยอรมนีตะวันตก
1972
รายละเอียด
Munich  
เยอรมนีตะวันตก
1–0  
ปากีสถาน
 
อินเดีย
2–1  
เนเธอร์แลนด์
1976
รายละเอียด
Montreal  
นิวซีแลนด์
1–0  
ออสเตรเลีย
 
ปากีสถาน
3–2  
เนเธอร์แลนด์
1980
รายละเอียด
Moscow  
อินเดีย
4–3  
สเปน
 
สหภาพโซเวียต
2–1  
โปแลนด์
1984
รายละเอียด
Los Angeles  
ปากีสถาน
2–1
after extra time
 
เยอรมนีตะวันตก
 
บริเตนใหญ่
3–2  
ออสเตรเลีย
1988
รายละเอียด
Seoul  
บริเตนใหญ่
3–1  
เยอรมนีตะวันตก
 
เนเธอร์แลนด์
2–1  
ออสเตรเลีย
1992
รายละเอียด
Barcelona  
เยอรมนี
2–1  
ออสเตรเลีย
 
ปากีสถาน
4–3  
เนเธอร์แลนด์
1996
รายละเอียด
Atlanta  
เนเธอร์แลนด์
3–1  
สเปน
 
ออสเตรเลีย
3–2  
เยอรมนี
2000
รายละเอียด
Sydney  
เนเธอร์แลนด์
3–3
(5–4)
Penalty strokes
 
เกาหลีใต้
 
ออสเตรเลีย
6–3  
ปากีสถาน
2004
รายละเอียด
Athens  
ออสเตรเลีย
2–1
after extra time
 
เนเธอร์แลนด์
 
เยอรมนี
4–3
after extra time
 
สเปน
2008
รายละเอียด
Beijing  
เยอรมนี
1–0  
สเปน
 
ออสเตรเลีย
6–2  
เนเธอร์แลนด์
2012
รายละเอียด
London  
เยอรมนี
2–1  
เนเธอร์แลนด์
 
ออสเตรเลีย
3–1  
บริเตนใหญ่
2016
รายละเอียด
Rio de Janeiro
2020
รายละเอียด
Tokyo

ทีมที่ผ่านรอบคัดเลือก แก้

Team 1908 1920 1928 1932 1936 1948 1952 1956 1960 1964 1968 1972 1976 1980 1984 1988 1992 1996 2000 2004 2008 2012 2016 2020 Total
  อัฟกานิสถาน 6th 8th 11th 3
  อาร์เจนตินา 5th 14th 14th 11th 8th 11th 9th 8th 11th 10th Q 10
  ออสเตรเลีย 5th 6th 3rd 2nd 5th 2nd 4th 4th 2nd 3rd 3rd 1st 3rd 3rd Q 14
  ออสเตรีย 9th 8th 7th 3
  เบลเยียม 3rd 4th 9th 5th 9th 7th 11th 11th 9th 10th 9th 9th 5th Q 13
  บราซิล Q 1
  แคนาดา 13th 10th 12th 11th 10th 10th Q 7
  จีน 11th 1
  เครือรัฐเอกราช# 10th 1
  คิวบา 5th 1
  เดนมาร์ก 2nd 5th 10th 11th 16th 5
  เยอรมนีตะวันออก 11th 1
  อียิปต์ 12th 12th 2
  อังกฤษ 1st 1
  ฟินแลนด์ 9th 1
  ฝรั่งเศส 6th 4th 5th 4th 8th 11th 10th 10th 12th 9
  บริเตนใหญ่ 1st 2nd 3rd 4th 4th 9th 12th 6th 3rd 1st 6th 7th 6th 9th 5th 4th Q 16
  เยอรมนี 5th 3rd 2nd 5th 1st 4th 5th 3rd 1st 1st Q 10
  ฮ่องกง 15th 1
  ฮังการี 8th 1
  อินเดีย 1st 1st 1st 1st 1st 1st 2nd 1st 3rd 3rd 7th 1st 5th 6th 7th 8th 7th 7th 12th Q 20
  ไอร์แลนด์ 2nd 1
  อิตาลี 11th 13th 2
Team 1908 1920 1928 1932 1936 1948 1952 1956 1960 1964 1968 1972 1976 1980 1984 1988 1992 1996 2000 2004 2008 2012 2016 2020 Total
  ญี่ปุ่น 2nd 7th 14th 7th 12th Q 6
  เคนยา 10th 7th 6th 8th 13th 9th 12th 7
  มาเลเซีย 9th 9th 15th 8th 8th 10th 9th 11th 11th 9
  เม็กซิโก 16th 16th 2
  เนเธอร์แลนด์ 2nd 3rd 3rd 2nd 9th 7th 5th 4th 4th 6th 3rd 4th 1st 1st 2nd 4th 2nd Q 17
  นิวซีแลนด์ 6th 5th 13th 7th 9th 1st 7th 8th 6th 7th 9th 11
  ปากีสถาน 4th 4th 2nd 1st 2nd 1st 2nd 3rd 1st 5th 3rd 6th 4th 5th 8th 7th 16
  โปแลนด์ 6th 12th 11th 4th 12th 5
  สกอตแลนด์ 3rd 1
  สิงคโปร์ 8th 1
  แอฟริกาใต้ 10th 10th 12th 11th 4
  เกาหลีใต้ 10th 5th 2nd 8th 6th 8th 6
  สหภาพโซเวียต# 3rd 7th 2
  สเปน 7th 11th 3rd 4th 6th 7th 6th 2nd 8th 9th 5th 2nd 9th 4th 2nd 6th Q 16
  สวิตเซอร์แลนด์ 7th 5th 5th 7th 15th 5
  แทนซาเนีย 6th 1
  ยูกันดา 15th 1
  Unified Team of Germany 3rd 7th 5th 3
  สหรัฐ 3rd 11th 11th 12th 11th 12th 6
  เวลส์ 3rd 1
  เยอรมนีตะวันตก 4th 1st 5th 2nd 2nd 5
  ซิมบับเว 11th 1
Total 6 4 9 3 11 13 12 12 16 15 16 16 11 6 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 270
# = states or teams that have since split into two or more independent nation

หญิง แก้

สรุป แก้

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงที่ 3
เหรียญทอง คะแนน เหรียญเงิน เหรียญทองแดง คะแนน อันดับ 4
1980
รายละเอียด
Moscow  
ซิมบับเว
[b]  
เชโกสโลวาเกีย
 
สหภาพโซเวียต
[b]  
อินเดีย
1984
รายละเอียด
Los Angeles  
เนเธอร์แลนด์
[4]  
เยอรมนีตะวันตก
 
สหรัฐ
(10–5)
Penalty strokes[5]
 
ออสเตรเลีย
1988
รายละเอียด
Seoul  
ออสเตรเลีย
2–0  
เกาหลีใต้
 
เนเธอร์แลนด์
3–1  
บริเตนใหญ่
1992
รายละเอียด
Barcelona  
สเปน
2–1
after extra time
 
เยอรมนี
 
บริเตนใหญ่
4–3  
เกาหลีใต้
1996
รายละเอียด
Atlanta  
ออสเตรเลีย
3–1  
เกาหลีใต้
 
เนเธอร์แลนด์
0–0
(4–3)
Penalty strokes
 
บริเตนใหญ่
2000
รายละเอียด
Sydney  
ออสเตรเลีย
3–1  
อาร์เจนตินา
 
เนเธอร์แลนด์
2–0  
สเปน
2004
รายละเอียด
Athens  
เยอรมนี
2–1  
เนเธอร์แลนด์
 
อาร์เจนตินา
1–0  
จีน
2008
รายละเอียด
Beijing  
เนเธอร์แลนด์
2–0  
จีน
 
อาร์เจนตินา
3–1  
เยอรมนี
2012
รายละเอียด
London  
เนเธอร์แลนด์
2–0  
อาร์เจนตินา
 
บริเตนใหญ่
3–1  
นิวซีแลนด์
2016
รายละเอียด
Rio de Janeiro
2020
รายละเอียด
Tokyo

ทีมที่ผ่านรอบคัดเลือก แก้

Team 1980 1984 1988 1992 1996 2000 2004 2008 2012 2016 2020 Total
  อาร์เจนตินา 7th 7th 2nd 3rd 3rd 2nd Q 7
  ออสเตรเลีย 4th 1st 5th 1st 1st 5th 5th 5th Q 9
  ออสเตรีย 5th 1
  เบลเยียม 11th 1
  แคนาดา 5th 6th 7th 3
  เชโกสโลวาเกีย# 2nd 1
  จีน 5th 4th 2nd 6th Q 5
  เยอรมนี 2nd 6th 7th 1st 4th 7th Q 7
  บริเตนใหญ่ 4th 3rd 4th 8th 6th 3rd Q 7
  อินเดีย 4th 1
  ญี่ปุ่น 8th 10th 9th Q 3
  เนเธอร์แลนด์ 1st 3rd 6th 3rd 3rd 2nd 1st 1st Q 9
  นิวซีแลนด์ 6th 8th 6th 6th 12th 4th Q 7
  โปแลนด์ 6th 1
  แอฟริกาใต้ 10th 9th 11th 10th 4
  เกาหลีใต้ 2nd 4th 2nd 9th 7th 9th 8th Q 8
  สหภาพโซเวียต# 3rd 1
  สเปน 1st 8th 4th 10th 7th 5
  สหรัฐ 3rd 8th 5th 8th 12th Q 6
  เยอรมนีตะวันตก 2nd 5th 2
  ซิมบับเว 1st 1
Total 6 6 8 8 8 10 10 12 12 12 12 104
# = states that have since split into two or more independent nations

สรุปเหรียญ แก้

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1   อินเดีย (IND)* 8 1 2 11
2   เนเธอร์แลนด์ (NED) 5 5 6 16
3   ออสเตรเลีย (AUS) 4 3 5 12
4   เยอรมนี (GER) 4 2 2 8
5   ปากีสถาน (PAK) 3 3 2 8
6   สหราชอาณาจักร (GBR) 3 2 6 11
7   สเปน (ESP) 1 3 1 5
8   เยอรมนีตะวันตก (FRG) 1 3 0 4
9   นิวซีแลนด์ (NZL) 1 0 0 1
  ซิมบับเว (ZIM) 1 0 0 1
11   เกาหลีใต้ (KOR) 0 3 0 3
12   อาร์เจนตินา (ARG) 0 2 2 4
13   จีน (CHN) 0 1 0 1
  เชโกสโลวาเกีย (TCH) 0 1 0 1
  เดนมาร์ก (DEN) 0 1 0 1
  ญี่ปุ่น (JPN) 0 1 0 1
17   สหภาพโซเวียต (URS) 0 0 2 2
  สหรัฐ (USA) 0 0 2 2
19   เบลเยียม (BEL) 0 0 1 1
  เยอรมนี (EUA) 0 0 1 1
Total 31 31 32 94

* Includes 3 gold medals as British India

หมายเหตุ แก้

  1. 1.0 1.1 การแข่งขันปี ค.ศ. 1920 เล่นในรูปแบบรอบแบ่งกลุ่ม ดังนั้นจึงไม่มีการแข่งขันชิงเหรียญทองหรือเหรียญทองแดง
  2. 2.0 2.1 การแข่งขันแบบพบกันหมดเล่นในปี ค.ศ. 1980 สำหรับผู้หญิง

อ้างอิง แก้

  1. There was no bronze medal match for the 1908 Games in London.
  2. 2.0 2.1 Only three teams participated in the 1932 tournament, so they played a round-robin format.
  3. The Unified Team of Germany was the combined team from West Germany and East Germany that competed together at the Olympic Games from 1956 to 1964. Then each country sent independent teams from 1968 to 1988.
  4. Round Robin format use in 1984 women's tournament
  5. The final standings show both the United States and Australia were tied in points and had same margin in goal difference (both having scored 9 goals and conceded 7 goals), therefore a penalty stroke competition was played to decide the bronze medal winner, with the United States winning.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้