กีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016

การแข่งขันยกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ที่ นครรีโอเดจาเนโร ระหว่างวันที่ 6–16 สิงหาคม ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559) ณ สนามรีอูเซงตรู[1]

ยกน้ำหนัก
ในโอลิมปิกครั้งที่ 31
สนามรีอูเซงตรู – ปาวีลีอง 2
วันที่6–16 สิงหาคม
จำนวนนักกีฬา260  คน จาก 94 ประเทศ
← 2012
2020 →
กีฬายกน้ำหนักใน
โอลิมปิกฤดูร้อน 2016

รายชื่อนักยกน้ำหนัก
ชาย หญิง
  56 กก.     48 กก.  
62 กก. 53 กก.
69 กก. 58 กก.
77 กก. 63 กก.
85 กก. 69 กก.
94 กก. 75 กก.
105 กก. +75 กก.
+105 กก.

ประเภทการแข่งขัน แก้

มีการชิงชัยทั้งหมด 15 เหรียญทอง คือ

  • 56 กก. ชาย
  • 62 กก. ชาย
  • 69 กก. ชาย
  • 77 กก. ชาย
  • 85 กก. ชาย
  • 94 กก. ชาย
  • 105 กก. ชาย
  • +105 กก. ชาย
  • 48 กก. หญิง
  • 53 กก. หญิง
  • 58 กก. หญิง
  • 63 กก. หญิง
  • 69 กก. หญิง
  • 75 กก. หญิง
  • +75 กก. หญิง

ทีมที่ได้โควตาเข้าแข่งขัน แก้

ประเทศ ชาย หญิง รวม
  อาร์มีเนีย 4 2 6
  อาเซอร์ไบจาน 4 4
  เบลารุส 6 4 10
  บราซิล 3 2 5
  จีน 6 4 10
  โคลอมเบีย 5 4 9
  สาธารณรัฐโดมินิกัน 2 2
  เอกวาดอร์ 2 2
  อียิปต์ 6 3 9
  ฝรั่งเศส 3 3
  จอร์เจีย 3 3
  เยอรมนี 4 4
  อินโดนีเซีย 5 2 7
  อิหร่าน 5 5
  ญี่ปุ่น 4 4
  คาซัคสถาน 6 4 10
  เม็กซิโก 3 3
  มอลโดวา 5 5
ประเทศ ชาย หญิง รวม
  เกาหลีเหนือ 6 4 10
  โปแลนด์ 4 4
  โรมาเนีย 2 1 3
  รัสเซีย 6 4 10
  เกาหลีใต้ 4 3 7
  สเปน 3 3
  จีนไทเป 3 4 7
  ไทย 5 4 9
  ตุรกี 3 3
  ยูเครน 4 3 7
  สหรัฐ 3 3
  อุซเบกิสถาน 5 5
  เวเนซุเอลา 3 3
  เวียดนาม 3 3
รวม 110 68 178

สรุปเหรียญรางวัล แก้

ตารางเหรียญรางวัล แก้

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1   จีน 4 1 0 5
2   ไทย 2 1 1 4
3   คาซัคสถาน 1 1 2 4
4   จีนไทเป 1 0 1 2
5   โคลอมเบีย 1 0 0 1
6   อินโดนีเซีย 0 2 0 2
  เกาหลีเหนือ 0 2 0 2
8   ฟิลิปปินส์ 0 1 0 1
  ตุรกี 0 1 0 1
10   อียิปต์ 0 0 2 2
11   ญี่ปุ่น 0 0 1 1
  คีร์กีซสถาน 0 0 1 1
  เกาหลีใต้ 0 0 1 1
รวม 9 9 9 27

ชาย แก้

ประเภทการแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
56 กก.
รายละเอียด
หลง ชิงเฉฺวียน
  ประเทศจีน WR
อ็อม ยุน-ช็อล
  ประเทศเกาหลีเหนือ
สินธุ์เพชร กรวยทอง
  ประเทศไทย
62 กก.
รายละเอียด
ออสการ์ ฟีเกโรอา
  ประเทศโคลอมเบีย
เอโก ยูลี อีราวัน
  ประเทศอินโดนีเซีย
ฟาร์ฮัด ฮาร์คี
  ประเทศคาซัคสถาน
69 กก.
รายละเอียด
ฉือ จื้อหย่ง
  ประเทศจีน
ดานียาร์ อิสมายีลอฟ
  ประเทศตุรกี
ลุยส์ คาเวียร์ มอสเกรา
  ประเทศโคลอมเบีย[2]
77 กก.
รายละเอียด
นีจัต ราฮีมอฟ
  ประเทศคาซัคสถาน WR
ลฺหวี่ เสี่ยวจุน
  ประเทศจีน WR
โมฮาเหม็ด มะห์มูด
  ประเทศอียิปต์
85 กก.
รายละเอียด
คีนูช โรสทามี
  ประเทศอิหร่าน WR OR
เถียน เทา
  ประเทศจีน OR[3]
กาบรีเอล ซินเกรยัน
  ประเทศโรมาเนีย
94 กก.
รายละเอียด
โซฮ์รอบ โมรอดี
  ประเทศอิหร่าน
วาดซิม สตรัลซอย
  ประเทศเบลารุส
อาอูรีมัส ดิยบาลิส
  ประเทศลิทัวเนีย
105 กก.
รายละเอียด
รุสลัน นูรูดีนอฟ
  ประเทศอุซเบกิสถาน OR
ซีมอน มาร์ตีรอสยัน
  ประเทศอาร์มีเนีย
อะเลคซันดร์ ไซชีคอฟ
  ประเทศคาซัคสถาน
+105 กก.
รายละเอียด
ลาชา ทาลาฮัดเซ
  ประเทศจอร์เจีย WR OR
กอร์ มีนาซยัน
  ประเทศอาร์มีเนีย
อีรักลี ทูร์มานิดเซ
  ประเทศจอร์เจีย

หญิง แก้

ประเภทการแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
48 กก.
รายละเอียด
โสภิตา ธนสาร
  ประเทศไทย
ซรี วะห์ยูนี อากุสเตียนี
  ประเทศอินโดนีเซีย
ฮิโระมิ มิยะเกะ
  ประเทศญี่ปุ่น
53 กก.
รายละเอียด
ซฺวี ชู-จิ้ง
  จีนไทเป
ไฮดีลิน ดีแอซ
  ประเทศฟิลิปปินส์
ยุน จิน-ฮี
  ประเทศเกาหลีใต้
58 กก.
รายละเอียด
สุกัญญา ศรีสุราช
  ประเทศไทย OR
พิมศิริ ศิริแก้ว
  ประเทศไทย
กัว ซิ่ง-ชุน
  จีนไทเป
63 กก.
รายละเอียด
เติ้ง เหวย์
  ประเทศจีน WR
ชเว ฮโย-ชิม
  ประเทศเกาหลีเหนือ
คารีนา โกรีเชวา
  ประเทศคาซัคสถาน
69 กก.
รายละเอียด
เซี่ยง เหยี่ยนเหมย์
  ประเทศจีน
จาซีรา จัปปาร์กุล
  ประเทศคาซัคสถาน
ซารา อาห์
  ประเทศอียิปต์
75 กก.
รายละเอียด
ริม จ็อง-ชิม
  ประเทศเกาหลีเหนือ
ดาร์เรีย นาอูมาวา
  ประเทศเบลารุส
ลีเดีย วาเลนติน Valentín
  ประเทศสเปน
+75 กก.
รายละเอียด
เมิ่ง ซูผิง
  ประเทศจีน
คิม กุก-ฮยัง
  ประเทศเกาหลีเหนือ
ซาราห์ โรเบิลส์
  สหรัฐ

อ้างอิง แก้

  1. "Venues". Rio 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-19. สืบค้นเมื่อ 2 April 2015.
  2. Bluradio. "Organización de JJ. OO. confirma medalla de bronce de Luis Javier Mosquera". bluradio.com (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 2016-08-20.
  3. http://www.iwf.net/results/olympic-records/