กำมะถันแดง สุพรรณถันแดง มาดแดง หรือหรดาลแดง[5]หรือในภาษาอังกฤษเรียกเรียลการ์ (Realgar), α-As4S4 เป็นสารประกอบในกลุ่มอาร์เซนิกซัลไฟด์ ปรากฏในรูปผลึก เป็นเม็ดละเอียด หรือเป็นผง มักจะเกิดร่วมกับออร์พิเมนต์ (As2S3) มีสีส้มแดง ละลายที่ 320 °C ชื่อของสารนี้มาจากจากภาษาอาหรับ rahj al-ġār (رهج الغار, "powder of the mine"), ผ่านทาง ภาษากาตาลา และ ภาษาละตินยุคกลาง[6]

กำมะถันแดงหรือเรียลการ์
ผลึกกำมะถันแดงจากเหมืองในสหรัฐ
การจำแนก
ประเภทSulfide mineral
สูตรเคมีAs4S4 or AsS
คุณสมบัติ
สีแดงจนถึงเหลืองส้ม; in polished section, pale gray, with abundant yellow to red internal reflections
รูปแบบผลึกPrismatic striated crystals; more commonly massive, coarse to fine granular, or as incrustations
โครงสร้างผลึกMonoclinic prismatic
การเกิดผลึกแฝดContact twins on {100}
แนวแตกเรียบGood on {010}; less so on {101}, {100}, {120}, and {110}
ความยืดหยุ่นSectile, slightly brittle
ค่าความแข็ง1.5–2
ความวาวResinous to greasy
ดรรชนีหักเหnα = 2.538
nβ = 2.684
nγ = 2.704
คุณสมบัติทางแสงBiaxial (-)
ค่าแสงหักเหสองแนวδ = 0.166
การกระจายแสงr > v, very strong
การเปลี่ยนสีจากเกือบไม่มีสีเป็นสีเหลืองทอง
สีผงละเอียดแดงอมส้มถึงแดง
ความถ่วงจำเพาะ3.56
ความโปร่งTransparent
คุณสมบัติอื่นเป็นพิษและก่อมะเร็ง
อ้างอิง: [1][2][3][4]

ในตำรายาไทยใช้เป็นยาแก้ลมป่วง กามโรค ในตำรายาจีน ใช้แก้พิษ ขับพยาธิ แก้ลมชัก ในทางอุตสาหกรรมใช้ทำสีและใช้ในอุตสาหกรรมฟอกหนัง หากร่างกายได้รับมากจะเป็นพิษทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง[7]

ภาพของกำมะถันแดง แก้

อ้างอิง แก้

  1. Handbook of Mineralogy
  2. Realgar at Mindat.org
  3. Realgar at Webmineral
  4. Klein, Cornelis and Cornelius S. Hurlbut, Manual of Mineralogy, Wiley, 1985, 20th ed., p. 282 ISBN 0-471-80580-7
  5. ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556. หน้า 11
  6. Philip Babcock Grove, บ.ก. (1993). Webster's Third New International Dictionary. Merriam-Webster, inc. ISBN 3-8290-5292-8.
  7. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-22. สืบค้นเมื่อ 2014-08-17.